ยาหยอดหู

เผยแพร่ครั้งแรก 23 ก.พ. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 13 นาที
ยาหยอดหู

ก่อนอื่นควรทราบก่อนว่า การอักเสบติดเชื้อของหูไม่ว่าจะเป็นหูส่วนนอกหรือหูส่วนกลางควรรับประทานยาปฏิชีวนะร่วมด้วย ไม่ควรให้ยาหยอดหูเพียงอย่างเดียว เพราะการใช้ยาหยอดหูเพียงอย่างเดียวไม่สามารถรักษาโรคหูอักเสบติดเชื้อของหูส่วนกลางและหูส่วนในได้ ยาหยอดหูจะมีประสิทธิภาพรักษาการติดเชื้อที่เกิดกับหูส่วนนอกเท่านั้น

ยาหยอดหู มีแบบไหนบ้าง?

ยาหยอดหูที่มีจำหน่ายในร้านยา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

1. ยาหยอดหูชนิดที่มีส่วนประกอบเป็นยาปฏิชีวนะ

ยาปฏิชีวนะที่นิยมนำมาผสมในยาหยอดหู คือ คลอแรมเฟนิคอล นิโอมันซิน โพลิมิกซิน บีและฟรามัยซิติน ยาหยอดหูบางชนิดจะผสมสเตียรอยด์ร่วมด้วย บางชนิดจะมียาปฏิชีวนะร่วมกันหลายชนิด ยาหยอดหูดังกล่าวนี้ใช้รักษาหูอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ

ที่กล่าวถึงยาหยอดหูข้างต้น เป็นยาหยอดหูกรณีติดเชื้อแบคทีเรีย แต่กรณีถ้ามีการติดเชื้อราภายในช่องหู ให้ใช้สำลีชุบเจนเชี่ยลไวโอเลตหรือเบตาดีนรอบผนังช่องหูที่ติดเชื้อรา หรือใช้ครีมสำหรับทารักษาเชื้อราโดยเฉพาะ ป้ายรอบผนังช่องหู

2. ยาหยอดหูที่มียาฆ่าเชื้อโรคอ่อนๆ

ยาหยอดหูชนิดนี่จะมีส่วนประกอบเช่น กรดอะซีติกและกรดบอริก เป็นต้น ยากลุ่มนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ และไม่ได้ผลในกรณีหูอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เนื่องจากประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อต่ำ

นอกจากนั้นยังมียาหยอดหูที่มียาปฏิชีวนะผสมสเตียรอยด์ ซึ่งยาหยอดหูประเภทนี้จะเหมาะกับการติดเชื้อที่มีอาการอักเสบร่วมด้วย หรือเป็นอาการแพ้เฉียบพลัน รุนแรง 

รายชื่อยาตาและยาหยอดหูที่มีจำหน่ายในประเทศไทย

กลุ่มยา

ชื่อสามัญทางยา

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

ชื่อการค้า

ข้อบ่งใช้

วิธีใช้

อาการข้างเคียง

หมายเหตุ

1.  ยาลดการระคายเคืองและทำให้หลอดเลือดฝอยในตาหดตัว

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

Ketorolac

Acular drops 0.5%

• ลดอาการคันตา เนื่องจากการแพ้ •ใช้หยอดหลังผ่าตัดต้อกระจกเพื่อป้องกันการอักเสบ

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 4 ครั้ง

อาจทำให้ตาแห้ง กระจกตาเป็นแผล การมองเห็นผิดปกติ

• ระวังการใช้ในกรณีมีเลือดออกที่เยื่อบุตาขาว •อาจเกิดการแพ้ยาข้ามกลุ่มในกรณีผู้แพ้ยาต่อไปนี้ด้วยคือ พาราเซตามอลเอนเซด • ระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หรือระยะให้นมบุตรและเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี

 

Naphazoline

Albaton solution Oculosan drops

• รักษาอาการตาแดงจากการที่เส้นเลือดฝอยที่ตาขยายตัว

หยอดครั้งละ 1-2 หยด ทุก 3-4 ชั่วโมง

• มีผลทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้น • ง่วงนอน

• ห้ามใช้ในต้อหินในทารกและเด็ก • ระวังการใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ไทรอยด์ ผู้ป่วยเบาหวาน •Oculosanมี Zinc sulfate ร่วมด้วย

 

Ketotifen

ZaditenZaditen SDU

•เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง

อาจทำให้การมองเห็นผิดปกติตาแห้ง ปวดศีรษะ ผื่นขึ้น ปากแห้ง เกิดการแพ้

• อาจทำให้เกิดการแพ้และมีผลต่อความสามารถในการขับรถหรือการทำงานกับเครื่องจักร • ระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร • กรณีใช้ Zaditenไม่ควรใส่เลนส์ขณะใช้

2. น้ำตาเทียมหรือยาตาที่ใช้หล่อลื่นตา

AntazolineTetrahydrozoline

AntazallergHistaophOpsil - A

•เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้

หยอดครั้งละ 1 หยด ทุก 3 ชั่วโมงหรือวันละ 2-3ครั้งกรณีมีอาการมากให้หยอดทุกชั่วโมง

อาจพบอาการแสบร้อน ปวดศีรษะ ง่วงนอน หัวใจเต้นผิดปกติ

•ห้ามใช้ในผู้เป็นต้อหิน • ระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงระยะให้นมบุตรและทารก

Phenylephrine, boric acid

Eye - gene

 

 

 

 

Tetrahydrozoline, boric acid

Mano eye drops

 

 

 

 

Naphazoline, Phenylamine

Naphon - A

 

 

 

 

 

 

• ใช้หยอดเพื่อลดอาการตาแห้ง คันตา

หยอดตาครั้งละ 1-2 หยด หยอดบ่อยได้เท่าที่ต้องการ

 

 

2.1 ชนิดไม่มีสารกันเสีย

 

Biotears drops Cellufresh Celluvisc Duratears Hypotears Plus SDU Lacryvisc Natears Refresh Tears Naturale Free

 

 

 

 

2.2 ชนิดมีสารกันเสีย

 

Cellufresh MD Celluvisc MD Endura Eye-gene soft Eye mo plain Genteal gel Hypotear plus Lac oph Liposic Liquiflim tears Optal tears Systane Tears Naturalell Vidisic Vislube

 

 

 

 

3. ยาตาที่ลดจำนวนเชื้อโรค

3.1 ยาต้านแบคทีเรีย

 

 

chloramphenicol

 

 

Archifen drops 0.5% Chloracil drops 0.5% Chloroph drops 0.5%/ oint. 1%

Cogetineoint. 1%

Vanafenoint. 1% Vanafen S drops 0.5% Silmycetin drops 0.5%

 

 

•ส่วนต่างๆ ของลูกตาที่มีการอักเสบติดเชื้อ เช่น หนังตา กระจกตา เยื่อบุตาขาว ถุงน้ำตาและแก้วตา

 

 

ชนิดน้ำ หยอดตา ครั้งละ 1-2 หยด วันละ 4 ครั้ง ชนิดขี้ผึ้ง ป้ายตา วันละ 1 ครั้ง

 

 

อาจเกิดการแพ้หรือติดเชื้ออื่นแทรกซ้อนไขกระดูกฝ่อ รวมทั้งโลหิตจาง

หลีกเลี่ยงการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลา นาน

 

Chlortetracycline

Aureomycinoint. 1% Chlortralimoint. 1%

เช่นเดียวกับ Chloramphe-nical

ป้ายตา วันละ 4 ครั้ง

ถ้าใช้เวลานานติดต่อกัน อาจมีการติดเชื้ออื่นแทรกซ้อน

 

 

Oxytetracycline, Polymyxin B

Terramycinoint. 1%

เช่นเดียวกับ Chloramphe-nical

ป้ายตา วันละ 4ครั้ง

เช่นเดียวกับChloramphe-nical

 

 

Gentamicin

Gental drops

•สำหรับตาติดเชื้อแบคทีเรีย

หยอดตา ครั้งละ 1-2 หยด ทุก 4 ชม. กรณีมีอาการรุนแรงให้หยอดทุกชม.

 

 

 

Sulfacetamide

Optal drops 15%

•รักษาและป้องกันตาติดเชื้อแบคทีเรีย

หยอดครั้งละ 1-2 หยด ทุก 3 ชม. ติดต่อกัน 3 วัน

 

 

 

 

 

 

 

Neamycin, polymyxin B gramicidin

Polyoph drops Xanalin drops

กระจกตาอักเสบ • เยื่อบุตาขาวอักเสบ • หนังตาอักเสบ • ถุงน้ำตาอักเสบ • แก้วตาหรือกระจกตาอักเสบ

หยอดครั้งละ 2 หยด วันละ 4 ครั้ง

อาจเกิดอาการแพ้และติดเชื้ออื่นแทรกซ้อน

 

 

Tobramycin

DW Tobramycin drops 0.3% Tobrex drops 0.3%

• หนังตาอักเสบ • ถุงน้ำตาอักเสบ •กุ้งยิง • ต่อมไขมันที่ตาอักเสบ • ตาติดเชื้อหนองใน • กระจกตาอักเสบ • กระจกตาเป็นแผลเปื่อย

หยอดตาครั้งละ 1-2 หยด ทุก 4 ชม. กรณีมีอาการรุนแรงให้หยอด 2 หยด ทุก 2 ชม.

อาจมีอาการแพ้ได้ เช่น คันตา หนังตาบวม เยื่อบุตาขาวแดง

DW Tobramycin drops ผสม Benzalkonium chloride ด้วย

 

Fusidic acid

Fucithalmicdrops 1%

•ใช้กับตาติดเชื้อแบคทีเรียทุกชนิด • ใช้ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียก่อนและหลังการผ่าตัด

หยอดครั้งละ 1 หยด ทุก 12 ชม. หลังจากหายแล้วให้หยอดต่ออีก 2 วัน หรือหยอดครั้งละ 1 หยด ทุก 4 ชม. ในวันแรกหลังจากนั้นจึงเป็น 1 หยด ทุก 12 ชม. ถ้าใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อก่อนการผ่าตัด ให้หยอดครั้งละ 1 หยด ทุก 12 ชม. 1-2 วัน ก่อนการผ่าตัดตา

 

 

 

อาจพบอาการคัน

 

 

 

 

Levofloxa- cin

Cravit ophthalmic drops 5%

หนังตา กุ้งยิงถุงน้ำตาอักเสบเยื่อบุตาขาวอักเสบ กระจกตาอักเสบ ต่อมไขมันที่ตาอักเสบ ใช้ก่อนและหลังการผ่าตัดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ

หยอดตาครั้งละ 1 หยด วันละ 3 ครั้ง หรือตามแพทย์สั่ง

อาจพบอาการคัน หนังตาแดง

ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยากลุ่มฟลูออโร-ควิโนโลน

 

Ciprofloxa- cin

Cifloxandrops 0.3% Optal-Pro drops 0.3%

รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น เยื่อบุตาขาว กระจกตา หรือ หนังตาติดเชื้อแบคทีเรีย

เยื่อตาขาวอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรียหยอดครั้งละ 1-2 หยด ทุก 2 ชม. เป็นเวลา 2 วัน ต่อมาหยอด ครั้งละ 1-2 หยด ทุก 4 ชม. ติดต่อกันอีก 5 วัน แก้วตาหรือกระจกตาอักเสบ

การหยอดต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจทำให้ติดเชื้อแทรกซ้อน ถ้าเกิดผื่นขึ้นตามผิวหนังให้หยุดใช้ อาจพบอาการคันตา หนังตาบวม น้ำตาไหล

ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยากลุ่มฟลูออโร-คลิโลนและเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

 

 

 

 

6 ชม. แรกของวันแรกครั้งละ 2 หยด ทุก 15 นาที ถัดจากนั้นของวันแรก หยอดครั้งละ 2 หยดทุก 30 นาที วันละ 2 หยอดครั้งละ 2 หยด ทุก ชม. ถัดจากวันที่ 2 หยอดครั้งละ 2 หยด ทุก 4 ชม.

 

 

 

Lomefloxacin

Okacin drops 0.3%

เช่นเดียวกับ Levofloxacin

วันแรก หยอดครั้งละ 5 หยด ทุก 20 นาที หรือ 1 หยด ทุก ชม. เป็นเวลา 10 ชม. ต่อมาหยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น

 

ไม่ควรใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน และไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี

 

Moxifloxacin

Vigamox drops 0.5%

ตาติดเชื้อแบคทีเรีย

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 3 ครั้ง ติดต่อกัน 4 วัน

อาจเกิดการติดเชื้อแทรกซ้อน

  • หลีกเลี่ยงการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
  • ไม่มีสารกันเสีย
  • หลีกเลี่ยงการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
  • หลีกเลี่ยงการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และระยะให้นมบุตร
  • หลีกเลี่ยงการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานและห้ามใช้ในเด็กเล็กและทารก
  • Efemoline ผสม Tetrahy-drozonline ด้วย

 

Gatifloxacin

Zymar soln

0.3%

ตาติดเชื้อแบคทีเรีย

2 วันแรกหยอดครั้งละ 1 หยด ทุก 2 ชม. (วันละ 8 ครั้ง) 3-7 วัน ต่อมาหยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 4 ครั้ง

อาจทำให้เยื่อบุตาขาวเกิดการระคายเคือง น้ำตาไหล

ยาต้านไวรัส

Acyclovir

Zovirax oint.

3%

เริมที่กระจกตา

ป้ายตายาวประมาณ 1 ชม. วันละ 5 ครั้ง (ทุก 3 ชม.) ติดต่อกัน เมื่อมีอาการดีขึ้นแล้วให้ป้ายต่ออีก 3-5 วัน

อาจเกิดการระคายเคืองและอักเสบเฉพาะที่

 

ยาต้านเชื้อรา

Natamycin

Natacin susp.

5%

รักษาตาติดเชื้อรา เช่น หนังตาติดเชื้อรา เยื่อบุตาขาว และกระจกตาอักเสบจากการติดเชื้อรา

หยอดครั้งละ 2 หยด วันละ 4-5 ครั้ง

อาจพบเยื่อบุตาขาวรอบกระจกตาบวมและเลือดคั่งบริเวณลูกตา

กรณีที่หยอดไป 1 สัปดาห์แล้ว อาการไม่ดีขึ้นให้เปลี่ยนยา

ยาตาที่มีส่วนประกอบของสเตียรอยด์

Dexamethasone

Dexagel 0.1%

ใช้กับโรคตาที่มีสาเหตุจากการแพ้และไม่มีการติดเชื้อโรค

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 3-4 ครั้ง

อาจทำให้ความดันในลูกตาเพิ่มขึ้นและความสามารถในการมองเห็นลดลง จึงไม่ควรใช้ขณะขับรถหรือทำงานกับเครื่องจักร

ห้ามใช้กับเริมที่ตา โรคตาติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อราและต้อหิน

 

Fluorometholone

Efemoline

drops

ตาอักเสบจากการแพ้

วันแรกหยอดครั้งละ 1 หยดทุก ชม. วันต่อมา หยอดครั้งละ 2 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น

 

 

 

Flarex susp. 0.1%

Flucon susp. 0.1%

Fluoph drops 0.1%

FML susp. 0.1%

ตาอักเสบจากการแพ้

ตาอักเสบจากการแพ้

ตาอักเสบจากการแพ้

ตาอักเสบจากการแพ้

 

 

 

 

Prednisolone

Inf-forte drops 1%

 

 

 

 

Pred-forte drops 1%

Pred-Mild eye drops 0.12%

รักษาตาอักเสบ จากการแพ้ที่ไม่มีการติดเชื้อโรค

หยอดครั้งละ 1-2หยด วันละ 4 ครั้ง

กรณีใช้ต่อเนื่องนานอาจทำให้มีการติดเชื้อแทรกซ้อนความดันในลูกตาเพิ่มขึ้น

 

ยาตาที่มีส่วนประกอบของสเตีย-รอยด์และยาปฏิชีวนะ

Dexamethasone, Neomycin

Archidex eye/ear drops

Dexacin E/E

Dex oph. Drops

Dexylin E/E drops

Eye dex E/E drops

Neo-optal drops

Ves oph. E/E drops

รักษาการอักเสบจากการแพ้ที่มีแนวโน้มติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย

หยอดหูครั้งละ 2-4 หยด ทุก 4 ชม. หยอดตาครั้งละ 1-2 หยด ทุก 2 ชม.

  • ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเพราะอาจทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้น
  • ระวังการใช้ในผู้ที่เป็นริดสีดวงตาและต้อกระจก
  • ห้ามใช้ในผู้ที่ตาติดเชื้อราหรือเชื้อไวรัส
  • ห้ามใช้ในผู้ที่ตาติดเชื้อไวรัสหรือเชื้อรา
  • ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นต้อหิน
  • ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนานเกิน 2 สัปดาห์และระหว่างการใช้ควรวัดความดันในลูกตาด้วย
  • ห้ามใช้ในตาติดเชื้อไวรัส เชื้อราหรือเชื้อแบคทีเรีย
  • ระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงระยะให้นมบุตร
  • ระวังการใช้เป็นเวลานาน
  • อาจพบการติดเชื้อแทรกซ้อน
  • ระวังการใช้เป็นเวลานาน
  • อาจทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นและเป็นต้อหิน
  • Naphazoline เป็นยาในกลุ่มยาบรรเทาการคัดแน่นจมูก ช่วยลดอาการตาแดง
  • ห้ามใช้ในผู้ติดเชื้อไวรัสหรือเชื้อรา
  • ระวังการใช้เมื่อมีความดันตาขึ้นสูง เนื่องจาก Tropicamide ทำให้ความดันลูกตาขึ้นสูง ปากแห้ง อาจพบอาการแพ้
  • เยื่อบุตาขาวอักเสบ
  • กระจกตาอักเสบ
  • ปวดตาหลังผ่าตัด

ห้ามใช้ในกรณีติดเชื้อไวรัส

 

Dexamethasone, Chloramphenicol, Tetrahydrozoline

CD-oph

drops

รักษาเยื่อบุตาขาวอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หนังตาและกระจกตาอักเสบ

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 1-4 ครั้ง กรณีมีอาการเฉียบพลันให้หยอดทุก ชม.

เช่นเดียวกับ Archidex

Tetrahydrozoline เป็นยาในกลุ่มยาบรรเทาการคัดแน่นจมูก ลดอาการ ตาแดง

 

Dexamethasone, Gentamicin

Dexamytex

eye

drops

ตาติดเชื้อแบคทีเรียที่มีอาการอักเสบร่วมด้วย

หยอดตาครั้งละ 1 หยด วันละ 4-6 ครั้ง

เช่นเดียวกับ Archidex

 

Dexamethasone, Trobamycin

Tobradex susp/oint.

รักษาการอักเสบจากการแพ้ที่มีแนวโน้มติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย

ชนิดน้ำหยอดตาครั้งละ 1-2 หยด ทุก 4-6 ชม. ชนิดขี้ผึ้ง ป้ายตาครั้งละ 1/2 นิ้ว วันละ 3-4 ครั้ง

อาจพบการแพ้เช่นหนังตาบวมคันหรือติดเชื้อแทรกซ้อน

 

Dexamethasone, Framycetin, Gramicidin

Sotradex

Drops

หนังตาอักเสบและตาติดเชื้อที่มีการอักเสบร่วมด้วย การแพ้รุนแรงที่มีภาวะเอ็กซีม่า

หยอดตาครั้งละ 1-2 หยด วันละ 3-4 ครั้ง

ระวังการใช้เป็นเวลานาน

เช่นเดียวกับ Tobradex

 

Dexamethasone, Neomycin, Polymyxin B

Maxitrol-

susp/ oint.

เช่นเดียวกับ Tobradex

เช่นเดียวกับ Tobradex

เช่นเดียวกับ Tobradex

 

Dexamethasone, Chloramphenicol, Tetrahydrozoline

Spersadexoline

เช่นเดียวกับ Tobrades

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 1-4 ครั้ง กรณีมีอาการเฉียบพลันให้หยอดครั้งละ 1 หยด ทุก ชม.

 

 

 

Prednisoline, Chloramphenicol, Naphazoline

Levoptin

Drops

ตาอักเสบจากการแพ้และมีแนวโน้มติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย

หยอดตา ครั้งละ 1-2 หยด วันละ 4 ครั้ง

 

Prednisoline, Gentamicin

Pred oph

Drops

เช่นเดียวกับ Levoptin

หยอดตาครั้งละ 1-2 หยด วันละ 4 ครั้ง

 

 

ยาตาที่ทำให้รูม่านตาหดตัวและทำให้ความดันในลูกตาลดลง

Pilocarpine

Isopto carpine

soln. 2%

ใช้ควบคุมความดันในลูกตา

ครั้งละ 2 หยด วันละ 1-4 ครั้ง

  • อาจทำให้การมองเห็นผิดปกติระวังการทำงานที่ต้องใช้สายตามากเป็นพิเศษ
  • อาจทำให้กล้ามเนื้อตาเป็นตะคริวเล็กน้อย
  • อาจทำให้ปวดบริเวณเบ้าตา
  • ห้ามใช้ในคนเป็นโรคหืด ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) โรคหัวใจ
  • ระวังการใช้ในผู้เป็นโรคตับ ไต ทำงานบกพร่อง หญิงตั้งครรภ์และระยะให้นมบุตร
  • กรณีผู้ใส่เลนส์ให้ถอดเลนส์ก่อนขณะหยอดและห้ามใส่เลนส์ใน 15 นาที หลังจากหยอดแล้ว

 

 

Carbachol

Miostat 0.01%

ใช้เพื่อทำให้รูม่านตาหดตัวขณะผ่าตัด

ตามแพทย์สั่ง

อาจทำให้กระจกตามัว

 

 

Brimonidine

Alphagen P

soln. 0.15%

Brimonidine 0.2%

Combigan drops

ใช้รักษาต้อหิน

หยอดยาครั้งละ 1 หยด หรือตามแพทย์สั่ง

 

Cambigan มี Timolol ร่วมด้วย

 

Timolol

Archimol 0.5%

Gluco oph 0.25%

Nyolo 0.5%

Timodrop 0.5%

Timolol 0.5%

Timo-optal 0.5%

Timoptol 0.5%

ใช้รักษาต้อหิน

หยอดตา ครั้งละ 2 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น หรือตามแพทย์สั่ง

 

 

 

Dorzolamide, Timolol

Cosopt drops

ใช้ลดความดันในลูกตา ใช้รักษาต้อหิน

หยอดตาครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น

อาจพบอาการแสบร้อนบริเวณตา กระจกตา เยื่อบุตาขาว น้ำตาไหล การมองเห็นของตาผิดปกติ

 

Dorzolamide

Trusopt soln. 2%

เช่นเดียวกับ Cosopt

 

 

 

 

Travoprost

Travatan soln. 0.004%

Duotrav soln.

(ผสม Timolol ด้วย)

เช่นเดียวกับ Cosopt

 

 

  • ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
  • Duotrav ผสม Timolol ด้วย
  • กลัวแสง กระจกตาอักเสบ คันตา
  • ห้ามใช้ร่วมกับ Epinephrine และ Reserpine
  • ระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวานไทรอยด์และผู้ที่ใช้ยากลุ่ม Beta-blockers

 

Carteolol

Arteoptic soln.

2%

ใช้รักษาต้อหิน

หยอดตาครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น

 

 

 

Brinzloaminde

Azopt

ใช้รักษาต้อหิน

 

 

 

 

Levobunolol

Betagan soln.

0.5%

ใช้รักษาต้อหินชนิดเรื้อรัง และภาวะที่ความดันในลูกตาสูง

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง

เช้า-เย็น

อาจพบอาการคันตา แสบร้อนตา มึนศีรษะ ปวดศีรษะ เยื่อบุตาขาว และหนังตาอักเสบ อัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิตลดลง

 

 

Betaxolol

Betoptic S

susp.

รักษาต้อหินเรื้อรัง ลดความดันลูกตา

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง

เช้า-เย็น

 

Latanoprost

Xalatan drops. 0.005%

เช่นเดียวกับ

Cosopt

 

 

 

 

Latanoprost Timolol

Xalacom

เช่นเดียวกับ

Cosopt

 

 

 

 

Bimatoprost

Lumigan drops 0.03%

เช่นเดียวกับ

Cosopt

 

 

 

ยาขยายม่านตา

Atropine sulfate

Atroren-P drops 1%

Isopto Atropine soln. 0.5%

ขยายรูม่านตา

หยอดครั้งละ 1 หยด ก่อนตรวจตา ถ้ารักษาม่านตาอักเสบหยอดครั้งละ 1-2 หยด วันละ 1-4 ครั้ง

การใช้เป็นเวลานานอาจทำให้เกิดการระคายเคืองเฉพาะที่

ห้ามใช้ในผู้เป็นต้อหิน

 

Cyclopentolate

Cyclogyl soln. 1%

กล้ามเนื้อขนตา

เป็นอัมพาต

หยอดตาครั้งละ 1 หยด ตามอีก 1 หยดใน 5 นาทีถัดมา

  • อาจทำให้การมองเห็นผิดปกติ ให้ระวังในผู้ที่ต้องขับรถหรือทำงานกับเครื่องจักร
  • อาจทำให้ความดันในลูกตาเพิ่มขึ้น ระคายเคือง เลือดคั่ง
  • ห้ามหยอดในผู้ที่เป็นต้อหิน
  • ไม่ควรหยอดร่วมกับ Carbachol หรือ Pilocarpine

 

Tropicamide

Mydriacyl soln. 1%

รักษากล้ามเนื้อขนตาเป็นอัมพาต ใช้หยอดเพื่อขยายม่านตาก่อนตรวจตา

หยอดครั้งละ 1-2 หยด

ห้ามใช้ในผู้เป็นต้อหินระยะเริ่มต้น หรือมีแนวโน้มเป็นต้อหิน

ยาตาที่เป็นยาชาเฉพาะที่

Tetracaine

Tetracaine

ใช้หยอดตาก่อนการผ่าตัด

ตามแพทย์สั่ง

 

 

น้ำยาล้างตา

Bolic acid,

Na borate,

Salicylic acid,

Chlorbutanol

Optal Olan’s eye lotion

Optrex eye lotion

ใช้ล้างทำความสะอาดตาเมื่อมีฝุ่นละอองหรือสารเคมีเข้าตา ลดอาการระคายเคืองเนื่องจากลมหรือฝุ่นละออง

 

 

 

ยาลดอาการอักเสบชนิดไม่ใช้การอักเสบติดเชื้อโรค

Diclofenac drops

Volta oph.

Voltaren ophtha drops 0.1%

Volverac drops 0.1%

หยอดครั้งละ 1 หยด วันละ 4 ครั้ง

 

 

 

Nepafenac

Navanac

รักษาอาการปวดและการอักเสบที่เกี่ยวเนื่องกับการผ่าตัดต้อกระจก

ตามแพทย์สั่ง

 

 

ยาตาอื่นๆ

Disodium cromoglycate

Vividrin drops

2%

รักษาเยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง

 

 

 

ยาหยอดหู

กลุ่มยา

ชื่อสามัญ

ทางยา

ชื่อการค้า

ข้อบ่งใช้

วิธีใช้

อาการข้างเคียง

หมายเหตุ

1. ยาหยอดหูที่เป็นยาปฏิชีวนะ

Chloramphenicol

Antibi-Otic

Archifen ear

Pharmacetin Otic

Vanafen Otologic

รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียที่หูส่วนนอก

หยอดหูครั้งละ 2-3 หยด วันละ 3 ครั้ง

 

Archifen ear มี Lidocaine ซึ่งเป็นยาชาร่วมด้วย

 

Ofloxacin

Tarvid OTIC

เช่นเดียวกับ

Antibi-Otic

 

 

 

2. ยาหยอดหูที่เป็นยาปฏิชีวนะผสมสเตีย-รอยด์

Dexamethasone, Neomycin

Archidex E/E

Dexacin

Dexoph

Dexylin

Neo-optal

Visoph

 

 

 

 

 

Prednisolone, Gentamicin

Pred oph

 

 

 

 

3. ยาหยอดหูที่ผสมยาฆ่าเชื้อรา

Clotrimazole

Candid drops

1%

ใช้รักษาเชื้อราที่ช่องหู

หยอดหูครั้งละ 4-5 หยด วันละ 3-4 ครั้ง

อาจพบอาการแพ้ ระคายเคือง

ห้ามใช้กรณีเยื่อแก้วหูทะลุ

4. ยาหยอดหูอื่นๆ

Docusate

Dewax

ใช้รักษาขี้หูอุดตัน

หยอดหูครั้งละ 5-10 หยด ทิ้งไว้ 15 นาที วันละ 2 ครั้ง ติดต่อกัน 4 วัน

อาจพบผื่นขึ้น คลื่นไส้

ห้ามใช้กรณีเยื่อแก้วหูทะลุ

 ชื่อยาและศัพท์แพทย์เรียงตามอักษรภาษาอังกฤษ

Acyclovir

อะชัยโคลเวียร์

Androgen

แอนโดรเจน

Antazoline

แอนทาโซลีน

Amoxycillin

อะม็อกซิซิลิน

Ampicillin

แอมพิซิลลิน

Azithromycin

เอซิโธรมัยซิน

Benzalkonium chloride

เบนซอลโคเนียม คลอไรด์

Betamethasone

เบต้าเมธาโซน

Cefixime

เซฟิซีม

Cefaclor

ซีฟาคลอร์

Cefuroxime axetil

เซฟูร็อกซีม อะเซติล

Cephalexin

ซีฟาเล็กซิน

Chalmydia trachomatis

คลามัยเดีย ทราโคมาติส

Clavulanic acid

กรดคลาวูลานิก

Cloxacillin

คลอกซาซิลลิน

Chloramphenicol

คลอแรมเฟนิคอล

Chlortetracycline

คลอร์เตตร้าชัยคลิน

Cholesterol

โคเลสเตอรอล

Cotrimazole

โคไตรมาโซล

Cotrimoxazole

โคไตรม็อกซาโซล

 

Corpus luteum

คอร์ปัส ลูเทียม

Corpus albican

คอร์ปัส อัลบิแคน

Ciprofloxacin

ไซโปรฟล็อกซาซิน

Coumestran derivatives

อนุพันธ์คูเมสเทน

Cyproterone acetate

ไซโปรเทอโรน อะซิเตท

Desogestrel

เดโสเกสเตรล

Dexamethasone

เด็กซ่าเมธาโซน

Do-iodohydroxyquin

ได-ไอโอโดไฮดรอกซิควิน

Doxycycline

ด็อกซิซัยคลิน

Dicyclomine

ไดไซโคลมีน

Dimenhydrinate

ไดเมนไฮดริเนต

Domperidone

ดอมเพอริโดน

Drospirenone

ดรอสไพริโนน

DUB (Dysfunctional Uterine Bleeding)

ดียูบี (ภาวะเลือดออกมากผิดปกติจากโพรงมดลูก)

D-norgestrel

ดีนอร์เกสเตรล

Econazole

อีโคนาโซล

Endometriosis

เอนโดเมทริโอซิส

Endometrium

เอนโดมีเทียม

Ethinodiol diacetate

เอนทิโนไดออล ไดอะซิเตท

Etonogestrel

เอโทโนเจสเตรล

Erythromycin

อิริโธรมัยซิน

Estrone

เอสโตรน

Ethinyl estradiol

เอทินิล เอสตราดิออล

Estradiol

เอสตราไดออล

 

Estradiol valerate

เอสตราดิออล วาเลอเรท

Estriol

เอสไตรออล

Estrogen

เอสโตรเจน

Famiclovir

ฟามิโคลเวียร์

FSH (Follicle Stimulating Hormone)

เอฟเอสเอช

Flavone

ฟลาโวน

Flavoxate

ฟลาโวเซต

Fluconazole

ฟลูโคนาโซล

Fluoroquinolone

ฟลูออโรควิโนโลน

Framycetin

ฟรามัยซิติน

Fusidic acid

กรดฟิวซิดิก

Fluorometholone

ฟลูออโรเมโธโลน

Gatifloxacin

กาทิฟล็อกซาซิน

Gentamycin

เจนตามัยซิน

Gestodene

เกสโตดีน

Griseofulvin

กริสซิโอฟลูวิน

HDL-cholesterol

เอชดีแอล โคเลสเตอรอล

Hyoscine

ฮัยออสซีน

Hydroxyprogesterone

ไฮดรอกซีโปรเจสเตอโรน

Human papilloma

ฮิวแมน พาพิลโลมา

Haemophillus influenza

ฮีโมฟิลลัส อินฟลูเอ็นซ่า

Haemophillus ducyei

ฮีโมฟิลลัส ดูเครอี

Haemophillus vaginalis

ฮีโมฟิลลัส วาจินาลิส

Herpes simplex type II

เฮอร์ปีส์ ซิมเพล็กซ์ ชนิดที่สอง

 

Isoconazole

ไอโซโคนาโซล

Itraconazole

ไอทราโคนาโซล

Ibuprofen

ไอบูโปรเฟ่น

Idoxuridine

ไอดอกซูริดีน

Isoflavone

ไอโซฟลาโวน

Ketoconazole

คีโตโคนาโซล

LDL-cholesterol

แอลดีแอล โคเลสเตอรอล

LH (Luteinizing Hormone)

แอลเอช

Levofloxacin

ลีโวฟล็อกซาซิน

Levonorgestrel

ลีโวนอร์เกสเตรล

Lomefloxacin

โลมีฟล็อกซาซิน

Lynestrenol

ลินเนสตรินอล

Mestranol

เมสตรานอล

Miconazole

ไมโคนาโซล

Metronidazole

เมโทรนิดาโซล

Meclizine

มีไคลซิน

Mefenamic acid

กรดมีฟีนามิก

Medroxyprogesterone

เมดรอกซีโปรเจสเตอโรน

Megestrol

มีเกสตรอล

Moxifloxacin

โมซิฟล็อกซาซิน

Mycoplasma

มัยโคพลาสมา

Naphazoline

นาฟาโซลีน

Natamycin

นาทามัยซิน

Neomycin

นีโอมัยซิน

 

Nitrofurantoin

ไนโตรฟิวแรนโตอิน

Norethisterone

นอร์เอทิสเตอโรน

Norethisterone acetate

นอร์เอทิสเตอโรน อะซิเตรท

Norgestimate

นอร์เกสติเมท

Naproxen

นาโปรเซ่น

Norgestrel

นอร์เกสเตรล

Norethindrone

นอร์เอทินโดรน

Norelgestromin

นอร์เรลเจสโทรมิน

Norfloxacin

นอร์ฟล็อกซาซิน

Neisseria gonorrhoeae

ไนซีเรีย โกโนโรอี

Ofloxacin

โอฟล็อกซาซิน

Oxytetracycline

ออกซีเตตร้าชัยคลิน

Phenazopyridine

ฟีนาโซไพริดีน

Phenylephrine

เฟนนิลเอฟรีน

Polymyxin B

โพลิมิกซิน บี

Poxvirus

พ็อกไวรัส

Prednisolone

เพรดนิโซโลน

Progesterone

โปรเจสเตอโรน

Phytoestrogen

ไฟโตเอสโตรเจน

Progestin

โปรเจสติน

Progestogen

โปรเจสโตเจน

Prostaglandins

พรอสตาแกลนดินส์

Rifampicin

ไรแฟมพิซิน

Staphylococcus

สแต็ปฟิโลคอกคัส

 

Steven Johnson Syndrome

สตีเฟ่น จอห์นสัน ซินโดรม

Streptococcus

สเตร็ปโตคอกคัส

Spironolactone

สไปโรโนแลคโตน

Sulfacetamide

ซัลฟาเซตาไมด์

Sulfamethoxazole

ซัลฟาเมท็อกซาโซล

Sulfonamide

ซัลโฟนาไมด์

Tinidazole

ทินิดาโซล

Tetracycline

เตตร้าชัยคลิน

Triglycerides

ไตรกลีเซอไรด์

Testosterone

เทสโทสเตอโรน

Trichomonas vaginalis

ทริโคโมแนส วาจินาลิส

Treponema pallidum

ทรีโพนีมา พัลลิดุม

Trimethoprim

ไตรโมโทพริม

Trachoma

ริดสีดวงตา

Tobramycin

โทบรามัยซิน

Tetrahydrozoline

เตตร้าไฮโดรโซลีน

Valacyclovir

วาลาชัยโคลเวียร์

 


4 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Jon Johnson, Why do adults get ear infections? (https://www.medicalnewstoday.com/articles/319788.php) 6 November 2018
Kristin Hayes, How to Use Ear Drops Correctly (https://www.verywellhealth.com/how-to-use-ear-drops-correctly-1192039)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)