September 01, 2019 01:40
ตอบโดย
Shintai Thavonlun (นพ.)
ไข้ เป็นปฏิกริยาของร่างกาย ที่เกิดได้จากหลายอย่างครับ เช่น การติดเชื้อ การอักเสบ ระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ เป็นต้นครับ
ถ้าไข้ หนาวสั่น ส่วนใหญ่จะเป็นไข้สูง แนะนำให้รีบไปตรวจร่างกายที่รพ.จะดีที่สุดครับ เพื่อค้นหาภาวะติดเชื้อ และได้รับยาฆ่าเชื้อถ้าสงสัย เพราะถ้าปล่อยนานไป อาจทำให้ติดเชื้อในกระแสเลือด และเกิดภาวะช็อคจากการติดเชื้อได้ครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง
ขอบคุณมากครับคุณหมอ 😊
ตอบโดย
กันตณัฏฐ์
อยู่ตรีรักษ์ (แพทย์ทั่วไป)
(นพ.)
General physician
สวัสดีครับ
การมีไข้ติดต่อกันนานถึง 1 สัปดาห์นั้นอาจบ่งบอกถึงการติดเชื้อบางอย่างในร่างกายได้ครับ เช่น การติดเชื้อในทางเดินหายใจ การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในทางเดินอาหาร ไข้เลือดออก ฯลฯ ซึ่งในกรณีนี้มีความจำเป็นต้องตรวจร่างกาย ตรวจเลือด รวมถึงใช้การตรวจที่จำเป็นอื่นๆเพิ่มเติมก่อนครับ
หมอแนะนำว่าในกรณีนี้ควรพาแฟนไปพบแพทย์เพื่อตรวจประเมินอาการเพิ่มเติมให้ทราบสาเหตุที่แน่ชัดก่อนเพื่อที่จะได้ให้การรักษาได้อย่างเหมาะสมครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ขอบคุณมากครับคุณหมอ 😊
ตอบโดย
ปวริศ ยืนยง (นพ.)
สวัสดีครับ การเป็นไข้จะแบ่งได้ 3 แบบครับ คือ
1. ไข้เฉียบพลัน คือ จะมีไข้ ช่วงไม่เกิน 7 วัน จะไข้สูงหรือต่ำก็ได้ จะรับรู้ได้ว่ามีไข้ มันจะเกิดขึ้นไว เช่น
-ไข้หวัด จะมีอาการคือ ไข้ ไอ น้ำมูก เจ็บคอ
-ปอดติดเชื้อ จะมีอาการคือ ไข้สูง ไอ หอบ เหนื่อย
-ไข้เลือดออก จะมีอาการไข้สูง เบื่ออาหาร อาจจะมีน้ำมูก และเจ็บคอไม่เด่น
- ติดเชื้อในกระแสเลือด จะมีอาการ ซึม ไข้สูงปัสสาวะลดลง เป็นต้นครับ
2.ไข้กึ่งเรื้อรัง คือ การการเป็นไข้นานกว่า 7วัน ถึง 14 วันครับ จะมีอาการถึงไข้ได้ อาจจะเป็นพวก เช่นไข้มาลาเรีย เป็นต้นครับ
3.ไข้เรื้อรัง คือเป็นไข้นานกว่า 2 สัปดาห์ครับ อาจจะพบได้ในโรค วัณโรค มะเร็ง แพ้ภูมิคุ้มกันต้นเอง เป็นต้นครับ
เพราะฉะนั้นถ้าเป็นไข้แนะนำว่าควรไปพบแพทย์ครับ จะได้ทำการตรวจเลือดเพิ่มเติมครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ขอบคุณมากครับคุณหมอ 😊
ตอบโดย
ปวริศ ยืนยง (นพ.)
สวัสดีครับ การเป็นไข้จะแบ่งได้ 3 แบบครับ คือ
1. ไข้เฉียบพลัน คือ จะมีไข้ ช่วงไม่เกิน 7 วัน จะไข้สูงหรือต่ำก็ได้ จะรับรู้ได้ว่ามีไข้ มันจะเกิดขึ้นไว เช่น
-ไข้หวัด จะมีอาการคือ ไข้ ไอ น้ำมูก เจ็บคอ
-ปอดติดเชื้อ จะมีอาการคือ ไข้สูง ไอ หอบ เหนื่อย
-ไข้เลือดออก จะมีอาการไข้สูง เบื่ออาหาร อาจจะมีน้ำมูก และเจ็บคอไม่เด่น
- ติดเชื้อในกระแสเลือด จะมีอาการ ซึม ไข้สูงปัสสาวะลดลง เป็นต้นครับ
2.ไข้กึ่งเรื้อรัง คือ การการเป็นไข้นานกว่า 7วัน ถึง 14 วันครับ จะมีอาการถึงไข้ได้ อาจจะเป็นพวก เช่นไข้มาลาเรีย เป็นต้นครับ
3.ไข้เรื้อรัง คือเป็นไข้นานกว่า 2 สัปดาห์ครับ อาจจะพบได้ในโรค วัณโรค มะเร็ง แพ้ภูมิคุ้มกันต้นเอง เป็นต้นครับ
เพราะฉะนั้นถ้าเป็นไข้แนะนำว่าควรไปพบแพทย์ครับ จะได้ทำการตรวจเลือดเพิ่มเติมครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ขอบคุณมากครับคุณหมอ 😊
มีอาการเหมือนไข้ขึ้นสูงครับ เป็นๆหายๆ เป็นบ่อยช่วงกลางคืน ระยะห่างกันแค่ 3-4 ชั่วโมง หนาวสั่น เริ่มมีอาการหลังจากเป็น ปจด. เป็นมา 1 อาทิตย์แล้วครับ ยังไม่ดีขึ้น สองวันมานี่ มีเลือดกำเดา 2 ครั้ง มีอาการกรดไหลย้อนร่วมด้วย กลางคืนท้องร้องดังมากกกกกก ปล.ผู้ป่วยเป็นแฟนสาวผมฮะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)