January 25, 2017 05:53
ตอบโดย
สุเทพ สุขนพกิจ
สาเหตุของโรคไตรั่วนะครับ
สาเหตุของโรคกลุ่มเนฟโฟตริก หรือไตรั่ว เกิดจาก 3 สาเหตุ หลักๆ คือ สาเหตุจากโรคไต สาเหตุจากโรคอื่นๆที่ทำให้เกิดโรคไต และการใช้ยาและสารเคมีบางชนิด โดยรายละเอียด คือ
1. สาเหตุจากโรคไต สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก คือ ไตจะไม่สามารถกรองโปรตีนได้ เนื้อไตหนาตัวหรือแข็งตัวเป็นแห่งๆ การติดเชื้อที่ไต
2. สาเหตุจากโรคอื่น ที่มีผลต่อเป็นโรคกลุ่มโรคเนฟโฟตริก เช่น โรคหัวใจ ภาวะครรภ์เป็นพิษ โรคเบาหวาน โรคติดเชื้อ
3. สาเหตุจากการใช้ยาหรือสารเคมีบางชนิด เช่น เฮโรอิน ยารักษาโรคมะเร็ง ยาแก้ปวดข้อ ยาที่รักษาโรคกระดูกพรุน
การรักษาโรคไตรั่ว
การรักษาโรคกลุ่มอาการเนฟโฟตริก ต้องทำการตรวจเลือดและปัสสาวะ เพื่อตรวจสอบระดับสารไข่ขาวในเลือด ระดับโคเลสเตอรอลและระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ซึ่งหลังจากทราบระดับสารในเลือดและปัสสาวะแล้ว ก้จะทำให้รักษาได้ง่ายและตรงจุดขึ้น การรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อ และให้ผู้ป่วยงดใช้ยาที่ผู้ป่วยมีอาการแพ้ ให้ยาสเตียรอยด์ เช่น เพร็ดนิโซโลน ถ้าพบว่าในเลือดสารไข่ขาวในสูง แสดงว่าอาการดีขึ้น แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจให้ยาขับปัสสาวะเพิ่ม แต่ถ้าการให้ยาไม่ได้ผล จะต้องเจาะเนื้อไตไปตรวจ โรคนี้จะเป็น
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
จะรักษาให้หายขาดได้ไหมคะ
จะรักษาให้หายขาดได้ไหมคะ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง
เพิ่งรู้ว่าแม่เป็นไตรั้วจะรักษาหายไหมคะ
เพิ่งรู้ว่าแม่เป็นไตรั้วจะรักษาหายไหมคะ
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
โรคไตรั้วจะหายไหมค่ะ
โรคไตรั้วจะหายไหมค่ะ
สวัสดีค่ะคุณหมออยากถามเกี่ยวกับโรคไตรั่วค่ะ 1. เป็นไตรั่วมีสิทธิหายมั้ยค่ะ2. สาเหตุเกิดจากอะไรค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)