February 21, 2017 18:39
ตอบโดย
ศิรินทิพย์ ผอมน้อย (นักจิตวิทยาคลินิก)
เรียกว่า TMD เป็นอาการผิดปกติของขมับ ขากรรไกร และกล้ามเนื้อใบหน้ามีปัญหาค่ะ
เกิดจากการชอบกัดเน้นฟัน อ้าปากกว้างเกินไป หาว มีความเครียด
หากปวดไม่มาก อาจบรรเทาปวดโดย ทานอาหารอ่อน หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ต้องเคี้ยวนาน/อ้าปากกว้างๆ/ หาว /เคี้ยวหมากฝรั่ง /กัดของแข็ง /กัดเน้นฟันเล่น ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นประคบบริเวณที่ปวด ทานยาแก้ปวด(พาราเซตามอล และไอบูโพรเฟน)
ใช้เฝือกสบฟัน นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ งดเครื่องดื่ม จำพวก ชา กาแฟ และ แอลกอฮอล์ ผ่อนคลายความตึงเครียด
หากอาการไม่ดีขึ้นหรือมีความถี่ในการเกิดอาการบ่อยขึ้นควรไปพบฑันตแพทย์ค่ะเพื่อจะได้รับการรักษาที่เหมาะสมต่อไปค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ยุค New Normal สุขภาพ เป็นสิ่งที่ทุกคนใส่ใจมากยิ่งขึ้น
ถ้าเริ่มมีอาการเจ็บคอ คันคอ ระคายคอ หรือมีเสมหะ เหนียวคอ มาดู 5 วิธี บรรเทาง่ายๆ ได้ผล อย่ารอให้เป็นหนัก
มีก้อนนูนๆด้านหน้ากกหูค่ะกดแล้วเจ็บ เคยหาวแล้วเหมือนเส้นคอเคล็ดเจ็บท้ายทอยมากค้ะ
สวัสดีค่ะคุณหมอ
ดิฉันปวดบริเวณใต้ใบหูข้างซ้ายบริเวณขากรรไกรและบริเวณหลังหูและก็แปลบๆเข้าไปในหูไม่ทราบสาเหตุว่าเกิดจากอะไร
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
ปวดหลังหูทั้งสองข้างค่ะ อาการจะเป็นเมื่อนอนดึก อ่านหนังสือเยอะ เครียดเรื่องสอบมากๆ มันคืออาการของอะไรหรอคะ เเล้วต้องกินยาหรือหาหมอไหม?
ปวดหลังหูทั้งสองข้างค่ะ อาการจะเป็นเมื่อนอนดึก อ่านหนังสือเยอะ เครียดเรื่องสอบมากๆ มันคืออาการของอะไรหรอคะ เเล้วต้องกินยาหรือหาหมอไหม?
ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 386 บาท ลดสูงสุด 61%
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
หมอครับเวลาผมกินข้าวมันจะกึ้ดๆข้างหลังกก
หูแล้วเจ้บเข้ามาในหูอ้ะครับอาการนี้มันเป้นอ้ะไรครับ เวลาหาวนอนหรืออ้าปากก็จะเจ็บเจ้าหูฝั่งซ้ายเวลาเคี้ยวอ้ะไรแรงๆมันก็จะเจ็บ
อาหารปวดบริเวณหน้ากรามบนหน้ากกหู เวลาอ้าปากจะเจ็บ เป็นอาการจากอะไรคะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)