November 20, 2019 11:22
ตอบโดย
กันตณัฏฐ์
อยู่ตรีรักษ์ (แพทย์ทั่วไป)
(นพ.)
General physician
สวัสดีครับ
ตามคำแนะนำของการบริจาคโลหิตนั้นแนะนำว่าควรงดการบริจาคโลหิตเป็นเวลา 12 เดือนหลังจากมีการเจาะผิวหนังตามส่วนต่างๆของร่างกายครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
ขอทราบเหตุผลได้ไหมคะ
ตอบโดย
นิชดา พงษ์ธัญญกรณ์ (แพทย์ทั่วไป) (พญ.)
ผู้ที่สักหรือเจาะผิวหนัง ให้งดการบริจาคโลหิตไป 12 เดือนเนื่องจากการกระทำดังกล่าวมีโอกาสติดเชื้อผ่านทางเข็มได้ค่ะ เช่น เชื้อ HIV ไวรัสตับอักเสบบี ซี เป็นต้น
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง
ตอบโดย
กันตณัฏฐ์
อยู่ตรีรักษ์ (แพทย์ทั่วไป)
(นพ.)
General physician
การที่ให้เว้นระยะเวลาบริจาคเลือดเป็นเวลา 12 เดือนนั้นเนื่องจากผู้บริจาคมีโอกาสได้รับโรคติดต่อทางเลือด เช่น HIV ซิฟิลิส ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี มาจากการเจาะผิวหนังได้ครับ และการเว้นช่วงเวลา 12 เดือนนี้ก็จะเป็นการช่วยให้สามารถมั่นใจได้ว่าทางหน่วยรับบริจาคเลือดจะสามารถตรวจพบเชื้อเหล่านี้ในเลือดได้ในกรณีที่มีการติดเชื้ออยู่ เพราะในช่วงเดือนแรกๆที่ได้รับเชื้อเหล่านี้มาการตรวจเลือดก็อาจจะยังไม่พบเชื้อเหล่านี้ และถ้ามีโรคเหล่านี้อยู่ก็จะทำให้ผู้ป่วยที่ได้รับเลือดไปติดโรคเหล่านี้ไปได้ครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
อยากสอบถามว่า ไปเจาะแฟชั่นตรงสนตะพายจากร้านในห้างซึ่งมีการฆ่าเชื้อแล้ว จะสามารถบริจาคเลือดได้ไหมคะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)