December 05, 2019 21:37

เป็นพวกชอบเวลาตัวเองเจ็บปวด ผิดปกติมั้ยคะ? สวัสดีค่ะ คือว่าพอดีเราเป็นพวกชอบเวลาตัวเองเจ็บปวด(ทั้งกาย-ใจ) เช่น เวลาข้อเท้าพลิก มันเจ็บนะ แต่ชอบเวลามันเจ็บ หรือเป็นแผลเล็กๆน้อยๆ เจ็บแต่ก็ชอบ -ที่หนักคือเรื่องทางจิตใจค่ะ เรามีอาการซึมเศร้าแบบอ่อน แต่เวลาที่กำลังดิ่ง เราบอกว่าเราไม่ไหวแล้ว ไม่ได้อยากเป็นแบบนี้เลย แต่อีกใจมันก็ชอบเวลาเห็นตัวเองเศร้า เจ็บปวด ร้องไห้ ชอบแบบชอบเฉยๆเลยค่ะ พอมันใกล้จะหาย ก็จะคิดจี้จุดตัวเองให้เศร้าแล้วร้องไห้อีกรอบ แต่พอมันหายก็ไม่ได้อะไรนะคะ มันก็จะอยู่แบบปกติ จนความเศร้ามันวกมาอีกรอบเราถึงจะคิดจี้จุดให้ร้องไห้ซ้ำไปซ้ำมา รู้สึกชอบความรู้สึกเวลาตัวเองร้องไห้มากกว่าตอนมีความสุขอีกค่ะ แบบนี้เราเป็นอะไรมั้ยคะ ผิดปกติมั้ยคะ เราไม่กล้าเล่าเรื่องนี้ให้ใครเดี๋ยวเขาจะหาว่าเราบ้า (( อนึ่ง เราไม่ได้ไปพบจิตแพทย์แล้วค่ะ ยาก็ไม่ได้ทานแล้ว เหตุผลก็คือเราไม่อยากหายป่วย เราอยากป่วยแล้วทำร้ายจิตใจตัวเองเรื่อยๆ ))

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
อยากทราบวิธีป้องกันอาการปวดก่อนมีประจำเดือน
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อาการของโรคซึมเศร้าข้างต้นเริ่มแบบไหน
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
โรคซึมเศร้า มีอาการยังไงค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
เสื่อมสมรรถถาพทสงเพศ พื้นฟูได้กรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
โรคซึมเศร้ารึกษาให้หายขาดได้หรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
การลดลงของฮอโมนหลังหมดประจำเดือน ในผู้หญิงวัย 50 ปีขึ้นไป ทำให้เกิดอาการ แสบร้อน ในร่างกาย วูบวาบ เหนื่อย เมื่อย อ่อนเพลีย หนาวภายในร่างกาย ควรจะเริ่มตรวจจากตรงไหนคับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)