กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

ซึมเศร้า (Depression)

เผยแพร่ครั้งแรก 5 ม.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที

ยารักษาอาการซึมเศร้าอาจมีผลข้างเคียงดังต่อไปนี้

  • คลื่นไส้
  • เมื่อยล้า
  • เซื่องซึม ง่วงนอน
  • เวียนศีรษะ
  • ปากแห้ง
  • ตามัว
  • นอนไม่หลับ
  • มีอาการอยากอาหาร
  • ท้องผูก
  • รู้สึกปั่นป่วนหรือฉุนเฉียวง่าย
  • วิตกกังวล
  • ไม่มีความต้องการทางเพศหรือมีปัญหาทางเพศอื่นๆ
  • หย่อนสมรรถภาพทางเพศ

ยารักษาอาการซึมเศร้าต้องต้องบรรจุไว้ในกล่องสีดำมีคำเตือนเกี่ยวกับความคิดและพฤติกรรมฆ่าตัวตาย จากการศึกษาระยะสั้นพบว่า ยาจะเพิ่มความเสี่ยงของแนวโน้มการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้าหรือโรคทางจิตเวช ผลกระทบเหล่านี้จะปรากฏชัดเจนขึ้นในหลายสัปดาห์หลังจากเริ่มใช้ยารักษาอาการซึมเศร้าหรือเมื่อใช้ยาในปริมาณที่เพิ่มขึ้น จากการวิเคราะห์ปี 2016 ที่ได้ตีพิมพ์ในวารสาร BMJ พบว่า การใช้ยารักษาอาการโรคซึมเศร้าทำให้เสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมก้าวร้าวหรือการฆ่าตัวตายในเด็กเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
ยิ่งไปกว่านั้น คุณอาจต้องประสบกับอาการที่ไม่พึงประสงค์หากหยุดใช้ยาในทันที
ดังนั้นคุณจึงควรสอบถามแพทย์เกี่ยวกับผลข้างเคียงเหล่านี้และวิธีที่จะลดอาการหรือหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดอาการเหล่านี้

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


19 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
What are the real risks of antidepressants?. Harvard Health. (https://www.health.harvard.edu/mind-and-mood/what-are-the-real-risks-of-antidepressants)
Depression Medications and Side Effects. Healthline. (https://www.healthline.com/health/depression-medications-and-side-effects)
Antidepressants: Types, side effects, uses, and effectiveness. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/248320)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

ดูคำถามและคำตอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับอาการนี้
อยากทราบวิธีป้องกันอาการปวดก่อนมีประจำเดือน
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อาการของโรคซึมเศร้าข้างต้นเริ่มแบบไหน
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
โรคซึมเศร้า มีอาการยังไงค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
เสื่อมสมรรถถาพทสงเพศ พื้นฟูได้กรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
โรคซึมเศร้ารึกษาให้หายขาดได้หรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
การลดลงของฮอโมนหลังหมดประจำเดือน ในผู้หญิงวัย 50 ปีขึ้นไป ทำให้เกิดอาการ แสบร้อน ในร่างกาย วูบวาบ เหนื่อย เมื่อย อ่อนเพลีย หนาวภายในร่างกาย ควรจะเริ่มตรวจจากตรงไหนคับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)