การเปรียบเทียบมะเร็งต่อมลูกหมากกับโรคต่อมลูกหมากโต

เราจะสามารถเปรียบเทียบมะเร็งต่อมลูกหมากกับต่อมลูกหมากโตได้อย่างไร
เผยแพร่ครั้งแรก 15 ม.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
การเปรียบเทียบมะเร็งต่อมลูกหมากกับโรคต่อมลูกหมากโต

มะเร็งต่อมลูกหมากและต่อมลูกหมากโตมีทั้งความเหมือนและความแตกต่าง ซึ่งมักจะทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ โรคทั้ง 2 โรคนี้ล้วนเกิดภายในต่อมลูกหมากและสามารถทำให้เกิดอาการลักษณะเดียวกันได้ แต่มักจะมีความเหมือนกันเพียงเท่านี้ ดังนั้นเราจึงทำการเปรียบเทียบทั้ง 2 โรคที่พบบ่อยในผู้ชาย

มะเร็งต่อมลูกหมาก

ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia หรือ BPH)

  • ความชุก – มักพบได้บ่อยที่อายุมากกว่า 40 ปี และเป็นสาเหตุของการเกิดการอุดตันในทางเดินปัสสาวะเพศชายที่พบบ่อยที่สุด

  • สาเหตุ – เกิดจากฮอร์โมน testosterone ที่เพิ่มขึ้นซึ่งเกิดได้ตามปกติเมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น

  • การตรวจร่างกาย – ตรวจพบต่อมลูกหมากมีขนาดโตและนิ่มจากการตรวจทางทวารหนัก

  • ผลเลือดมีระดับสูงกว่าปกติ – อาจตรวจพบค่า PSA สูงกว่าปกติ

  • ส่วนของต่อมลูกหมากที่ได้รับผลกระทบ – มักเกิดที่ต่อมลูกหมากส่วนกลาง

    แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
    ตรวจมะเร็งสำหรับผู้ชายวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 534 บาท ลดสูงสุด 80%

    จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

  • อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย – อาจมีอาการเกี่ยวกับการปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะบ่อย มีปัสสาวะหยด และปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อย

  • บริเวณที่มีการแพร่กระจาย – ต่อมลูกหมากโตไม่สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายได้

  • การรักษา – การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ โดยสามารถเป็นได้ตั้งแต่การไม่รักษาเลย การใช้ยาเพื่อลดขนาดต่อมลูกหมาก จนถึงการผ่าตัดเพื่อตัดต่อมลูกหมากส่วนกลางออกเพื่อให้ปัสสาวะออกได้ดีขึ้น


27 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Comparison of the pre-treatment testosterone levels in benign prostatic hyperplasia and prostate cancer patients. ScienceDirect. (https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1110570416300182)
Understanding Prostate Changes. National Cancer Institute. (https://www.cancer.gov/types/prostate/understanding-prostate-changes)
Novel non-invasive biomarkers that distinguish between benign prostate hyperplasia and prostate cancer. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4433087/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

1 2 3 4 5
บทความต่อไป
×

ติดตามข้อเสนอพิเศษผ่าน LINE

อย่าพลาดโปรจาก HDmall

สแกน หรือ กดลิงก์ เลย

เพิ่มเพื่อน