ข้อควรคำนึง ในการรักษาผู้ป่วย และการแยกแยะการรักษา

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ข้อควรคำนึง ในการรักษาผู้ป่วย และการแยกแยะการรักษา

g alt="a4.gif" height="20" class='lazyload' data-src="http://www.thailovehealth.com/emo/a4.gif" title="a4.gif" width="27" /> ผู้ป่วยที่มีโรคร้ายแรงที่ไม่สามารถรักษาได้ แพทย์แผนไทยต้องสามารถแยกแยะได้ว่าโรคอะไรควรส่งต่อแพทย์แผนปัจจุบัน เช่น ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงมาก หัวใจเต้นผิดปกติ หอบเหนื่อย ไอมีเสมหะเป็นเลือด เป็นหนองและไข้สูง การติดเชื้อเช่น ฝีขนาดใหญ่ ฝีภายใน ปวดท้องรุนแรง อาเจียนเป็นเลือด ปวดท้องข้างขวา (ไส้ติ่งอักเสบ) มดลูกอักเสบ นิ่วขนาดโต ปวดหลังมาก กระตูกแตก กระดูกเสื่อม กระดูกหักผ่านข้อ กระดูกหักแผลปิด การช็อกจากการขาดน้ำรุนแรง การตกเลือด เลือดออกทางช่องคลอด หรือมีหนองออกมาจากช่องคลอด ส่วนโรคมะเร็ง โรคเอดส์ เบาหวาน และโรคเรื้อรังอื่น ๆ ควรให้โอกาสผู้ป่วยได้เลือกและควรได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อความชัดเจน

a4.gif ส่วนการเลือกการแพทย์แผนไทย นั้นควรเป็นลักษณะความร่วมมือกับแพทย์แผนปัจจุบัน เพราะบางโรคแพทย์แผนปัจจุบันสามารถรักษาให้หายขาดได้ แผนโบราณอาจส่งเสริมทำให้การรักษามีผลดียิ่งขึ้น ไม่สมควรทำในลักษณะชวนเชื่อให้ผู้มาเลือกการแพทย์แผนโบราณเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตามหากทางโรงพยาบาลชุมชนสนมารถที่จะวิจัยการรักษาโรคเรื้อรัง เหล่านี้ด้วยการแพทย์แผนไทย&n

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
WHO Director-General addresses traditional medicine forum. World Health Organization (WHO). (https://www.who.int/dg/speeches/2015/traditional-medicine/en/)
The Traditional Medicine and Modern Medicine from Natural Products. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6273146/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
การปฐมพยาบาล (First Aid) คืออะไร
การปฐมพยาบาล (First Aid) คืออะไร

คุณสามารถให้คำจำกัดความได้รึเปล่า

อ่านเพิ่ม