กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

ปัจจัยเสี่ยง ต่อการเป็นโรคไต

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ปัจจัยเสี่ยง ต่อการเป็นโรคไต

เป็นที่ทราบกันดีทั่วไปว่า โรคไตเป็นโรคเรื้อรังต้องการการดูแลรักษาที่ยาวนาน หลายรายต้องรักษาตลอดชีวิต อีกทั้งค่าใช้จ่ายก็สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีที่เข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ต้องการการรักษาที่เรียกว่า การบำบัดทดแทนไต ซึ่งได้แก่ การล้างช่องท้องด้วยน้ำยา การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการผ่าตัดเปลี่ยนไต

a7.gif

 ถึงแม้ในปัจจุบันนี้ กองทุนทั้ง 3 กองทุน คือ กองทุนสวัสดิการข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ กองทุนประกันสังคม และกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จะขยายสิทธิประโยชน์ครอบคลุมค่าใช้จ่ายการบำบัดทดแทนไตให้มากขึ้น  จนนับได้ว่าประชาชนคนไทยมีสิทธิได้รับการรักษาโรคไตกันอย่างทั่วถึงทุกคน แต่คงไม่มีใครในโลกที่อยากเป็นโรคไตเพราะฉะนั้นคำกล่าวที่ว่า

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจไต ฟอกไต รักษาโรคไต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 50 บาท ลดสูงสุด 83%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

 

“ความไม่โรค เป็นลาภอันประเสริฐ”

ยังเป็นสัจธรรม เป็นความจริงที่ทุกคนยอมรับ ทำอย่างไร จึงจะไม่เป็นโรคไต? 
การป้องกัน จึงเป็นสิ่งที่ดีกว่าการรักษาตามคำโบราณว่า
 

“กันไว้ดีกว่าแก้ว แย่แล้วแก้ไม่ทัน”
a7.gif

 การป้องกันสำหรับโรคไต แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหนึ่งป้องกันไม่ให้เกิด อีกส่วนหนึ่งคือป้องกันไม่ให้เสื่อมหรือไม่ให้เสื่อมเร็ว หลาย ๆ กรณีเราป้องกันไม่ให้เกิดไม่ได้ จึงเพียงแต่ป้องกันไม่ให้เสื่อม หรือป้องกันไม่ให้เสื่อมเร็ว คือดูแลรักษาให้เสื่อมช้าที่สุดที่จะช้าได้


วิธีการหนึ่งคือการศึกษาถึง ปัจจัยเสี่ยงในการเป็นโรคไต ซึ่งพอจะนับได้ดังนี้

  1. กรรมพันธุ์ / ครอบครัว
  2. ความดันโลหิตสูง
  3. โรคเบาหวาน
  4. ภูมิลำเนา
  5. ความอ้วน
  6. อายุ
  7. ยา / อาหาร
  8. อาชีพ / อุบัติเหตุ

16 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Risk factors for chronic kidney disease: an update. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4089662/)
Chronic Kidney Disease: Overview, Causes, and Risk Factors. Healthline. (https://www.healthline.com/health/chronic-kidney-disease)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป