กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

โรคหัวใจ และหลอดเลือด ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
โรคหัวใจ และหลอดเลือด ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

โรคไตเรื้อรัง (CKD  =  Chronic Kidney Diseases) เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญของประเทศไทย โดยจำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังพบมากขึ้นในปัจจุบัน และมีสาเหตุการเสียชีวิตหลักของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเกิดจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ดังนั้นควรให้ความสำคัญของการป้องกัน และรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง


โรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

a3.gif

 จากข้อมูลทางระบาดวิทยา พบว่าผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะแรกมีความชุกของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดประมาณร้อยละ 20 และเมื่อไตเรื้อรังรุนแรงมากขึ้นจนเข้าสู่ระยะท้ายก่อนเริ่มล้างไตจะพบความชุกของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงถึงร้อยละ 40 เห็นได้ว่าผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังพบความชุกของเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจไต ฟอกไต รักษาโรคไต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 50 บาท ลดสูงสุด 83%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

a3.gif

 จากการศึกษาเปรียบเทียบอัตราเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในแต่ละระยะของโรคไตเรื้อรัง พบว่า ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะต้น ระยะกลาง และระยะท้าย มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น 2.0, 2.8 และ 3.4 เท่า ตามลำดับ เมื่อเทียบกับผู้ป่วยที่มีระดับการทำงานของไตปกติ เห็นได้ว่า ภาวะไตเรื้อรังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Cardiovascular disease and its relationship with chronic kidney disease. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25339487)
The link between chronic kidney disease and cardiovascular disease. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4119330/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป