เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes)

เผยแพร่ครั้งแรก 9 ก.ค. 2019 อัปเดตล่าสุด 18 ธ.ค. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที

คงจะเป็นเรื่องที่น่าตกใจไม่น้อยหากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes) ทั้งที่ก่อนจะตั้งครรภ์ คุณไม่เคยเป็นโรคเบาหวานมาก่อนเลย แล้วทำไมตอนนี้เป็นล่ะ? เรามาหาคำตอบกัน

ฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างการตั้งครรภ์อาจส่งผลกระทบต่อการผลิตและการใช้อินซูลิน (insulin) ทำให้ทารกที่เกิดออกมาตัวใหญ่กว่าปกติ และมีโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ขณะคลอดได้ นอกจากนี้ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาขณะตั้งครรภ์ เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ (preeclampsia) และการคลอดก่อนกำหนดได้ จากสาเหตุข้างต้นแพทย์จะตรวจดูสุขภาพคุณและทารกอย่างใกล้ชิดตลอดช่วงเวลาการตั้งครรภ์ที่เหลืออยู่

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์สามารถหายได้เองภายหลังจากคลอดลูกแล้ว แต่ในตอนนี้คุณจำเป็นต้องปรับพฤติกรรมบางอย่างเพื่อให้ทั้งคุณและทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง

ให้ไปพบแพทย์ถ้า:

  • คุณมีอาการเจ็บป่วยจนไม่สามารถรับประทานอาหารตามแผนการรับประทานอาหารที่วางไว้ได้
  • คุณมีอาการของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
  • ระดับน้ำตาลในเลือดของคุณสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด

ขั้นตอนการดูแลตนเอง

  • ทำงานร่วมกับนักโภชนาการ หรือผู้ให้คำปรึกษาด้านโรคเบาหวาน ในการวางแผนการรับประทานอาหาร และ อาหารว่าที่จะช่วยให้คุณสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างเหมาะสม คุณจำเป็นต้องจำกัดการรับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เพราะจะทำให้ระดับน้ำตาลเพิ่มขึ้นสูงได้
  • ออกกำลังกายเป็นประจำทุกวันจะช่วยให้คุณสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ แต่ต้องปรึกษาแพทย์ก่อนว่าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย โดยพยายามออกกำลังกายระดับปานกลาง 30 นาทีทุกวัน เช่น เดิน หรือว่ายน้ำเบาๆ
  • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม และขนมอบต่างๆ
  • เรียนรู้ว่าอะไรคืออาการเตือนของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเกินไป รวมถึงวิธีการจัดการแก้ไขเมื่อเกิดอาการเหล่านั้นขึ้น 

https://www.webmd.com/baby/guide/gestational-diabetes


18 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Gestational Diabetes and Pregnancy. Centers for Disease Control and Prevention (CDC). (https://www.cdc.gov/pregnancy/diabetes-gestational.html)
Preventing Gestational Diabetes: What You Should Know. Healthline. (https://www.healthline.com/health/pregnancy/preventing-gestational-diabetes)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

ดูคำถามและคำตอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับอาการนี้
ขออนุญาติถามคร่ะ...รกต่ำแต่ไม่มีเลือดออกมีสิทธิแท้งหรือคลอดก่อนกำหนดไมคร่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ตั้งแต่เราคลอดลูกเราฉีดยาคุมแล้วประจำเดือนไม่มาเลยตั้งแต่เกิดลูกแล้วเราจะรู้ได้ไงว่าเราท้อง
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
กำลังตั้งครรภ์อยู่คะ จำเป็นไหมที่จะต้องกินทั้งนมวัวและนมถั่วเหลือง เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกในครรภ์แพ้ถ้่วเหลือหรือแพ้นมวัวคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ตอนนี้ตั้งครรภ์อยู่ค่ะ ถ้ามีอาการท้องเสียจะทานยาธาตุได้หรือไม่คะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ทำหมันแล้วทำให้ประจำเดือนหมดไป เป็นบางคนรึว่าทุกคนคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากมีบุตรต้องวางแผนอย่างไรบ้างคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)