ปลาที่เป็นแหล่งของโอเมกา 3

เผยแพร่ครั้งแรก 9 ก.ย. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ปลาที่เป็นแหล่งของโอเมกา 3

กรดไขมันโอเมก้า 3 มีประโยชน์อย่างไร?

กรดไขมันโอเมกา 3 นั้นสามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจโดยการลดระดับไขมันชนิด triglycerides และลดการอักเสบ

คุณสามารถพบกรดไขมันชนิดนี้ได้จากอาหารหลายชนิดเช่นผักโขม, วอลนัท, flaxseed, ถั่วเหลือง, น้ำมันดอกคำฝอย หรือแม้กระทั่งเมล็ดฟักทอง แต่แหล่งอาหารที่ดีที่สุดก็คือปลา

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

ระดับโอเมก้า 3 ในปลาแต่ละชนิด

ปลาแต่ละชนิดมีระดับโอเมกา 3 ไม่เท่ากัน ต่อไปนี้เป็นรายชื่อปลาที่มีโอเมกา 3 สูงที่สุด

ปริมาณโอเมกา 3 ต่อปลา 3.5 ออนซ์ (กรัม) 

  • ปลาแมคเคอเรล 2.6
  • ปลาเทราต์ (ทะเลสาบ) 2.0
  • ปลาแฮร์ริ่ง 1.7
  • ปลาทูน่าครีบสีน้ำเงิน 1.6
  • ปลาแซลมอน 1.5
  • ปลาซาร์ดีนกระป๋อง 1.5
  • ปลาสเตอร์เจียน (Atlantic) 1.5
  • ปลาทูน่า albacore 1.5
  • ปลา whitefish 1.5
  • ปลาแอนโชวี 1.4
  • ปลาบลูฟิช Bluefish 1.2
  • ปลาอินทรีย์ 0.8
  • ปลาเทราต์ (brook) 0.6
  • ปลาเทราต์ (rainbow) 0.6
  • ปลาฮาลิบัต 0.5
  • ปลา Pollock 0.5
  • ปลาสเตอร์เจียน 0.4
  • ปลาอินทรีย์น้ำจืด 0.3
  • ปลาดุก 0.3
  • ปลา Ocean perch 0.3
  • ปลา Flounder 0.2
  • ปลา Haddock 0.2
  • ปลา Snapper สีแดง 0.2
  • ปลา swordfish 0.2
  • ปลา sole 0.1


5 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Finding omega-3 fats in fish: Farmed versus wild. Harvard Health. (https://www.health.harvard.edu/blog/finding-omega-3-fats-in-fish-farmed-versus-wild-201512238909)
Omega-3 in fish: How eating fish helps your heart. Mayo Clinic. (https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/heart-disease/in-depth/omega-3/art-20045614)
Top 8 Fish for Omega-3 Fatty Acids. Verywell Fit. (https://www.verywellfit.com/best-fish-for-omega-3-fatty-acids-2506714)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
น้ำมันปลา (Fish Oil) น้ำมันเพื่อสุขภาพ กับคุณประโยชน์ ที่คุณควรรู้
น้ำมันปลา (Fish Oil) น้ำมันเพื่อสุขภาพ กับคุณประโยชน์ ที่คุณควรรู้

ทำความรู้จักน้ำมันปลา ไขมันดีๆ ที่หากรับประทานอย่างถูกต้อง จะมีประโยชน์ต่อระบบต่างๆ ในร่างกายมากมาย

อ่านเพิ่ม
น้ำมันปลา ดีต่อสุขภาพจริงหรือไม่?
น้ำมันปลา ดีต่อสุขภาพจริงหรือไม่?

ประโยชน์และโทษของน้ำมันปลา ที่คุณอาจไม่เคยรู้

อ่านเพิ่ม