January 26, 2017 12:09
ตอบโดย
วิภา สุวรรณชีวะศิริ (พญ.)
โรคกระแสไฟฟ้าในหัวใจลัดวงจรหรือที่ทางการแพทย์เรียกว่า ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ การที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติ โดยอาจเต้นเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าในหัวใจหรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรในห้องหัวใจ ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่มมากขึ้น การรักษาขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยค่ะ มีตั้งแต่ รับประทานยาเพื่อควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ การใส่เครื่องกระต้นหรือ pacemaker รวมถึงการใช้ไฟฟ้าจี้ค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
มีอาการชีพจรเต้นช้า42ครั้งต่อนาทีบ้าง52ครั้งต่อนาทีบ้างมีอาการเหนื่อยร่วมด้วยมึนหัวร่วมด้วยช่วยแนะนำที่รักษาให้ผมด้วยครับ
และหมอด้วยครับคือมันมีอาการหลายอาการแชกเข้ามา.(.1).หัวใจเต้นช้าชีพจรเต้น43.ครั้งต่อนาทีบ้าง...(2)..ชีพจรเต้น..52.ครั้ง.ต่อนาที.บ้าง.(.3)..อาการแชกหมือนคนเป็นไข้ตลอดเวลา..(4)..ยืนนานๆไม่ได้เหนื่อยเหมือนขาสั่นขาอ่อน
ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 386 บาท ลดสูงสุด 61%
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ผู้ป่วยมีอาชีพ.ช่างตัดผมต้องยืนทำงานเป็น....เวลานาน..ยืนขาหวิว.ๆ.เหมือนจะทรงตัวไม่อยู่.จะเหนื่อยง่าย..ผู้ป่วยไม่สูบบุหรี่..ไม่กินเหล้า.เครื่องดื่มชูกำลังไม่กินชากาแฟใม่กิน.นอนเจ็ดชั่วโมง.เดินออกกำลังกายครึงชั่วโมงตอนเช้าขอความช่วยแนะนำหมอรักษาด้วยครับ.โรงบาลที่จะรักษาด้วยครับขอบคุณครับ
เหมือนมันเต้น3จังหวะครับ
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
เหมือนมันเต้น3จังหวะครับ
โรคกระแสไฟฟ้าในหัวใจลัดวงจรมีวิธีรักษาอย่างไร
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)