March 28, 2019 03:56
สวัสดีค่ะ คำถามของคุณอาจกว้างเกินไป ทำให้คุณหมอไม่สามารถให้ความเห็นได้ กรุณาอธิบายอาการอย่างละเอียดว่าเป็นอย่างไร บริเวณไหน เป็นมานานและถี่แค่ไหน รวมไปถึงข้อมูลส่วนตัวของคุณ เช่น เพศ อายุ ยาหรืออาหารเสริมที่ทานอยู่ เป็นต้น หรือคุณอาจค้นหาคำตอบคุณหมอ และกว่า 5,000 บทความสุขภาพในเว็บของเรา หากคุณถามเกี่ยวกับโรงพยาบาล คุณสามารถค้นหาข้อมูลติดต่อของโรงพยาบาลได้ที่นี่ หรือส่งอีเมลมาที่ [email protected] ค่ะ ขอบคุณค่ะ
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ตอบโดย
วชิรวิทย์ สุทธิศักดิ์ (แพทย์ทั่วไป) (นพ.)
ถ้าหมายถึง ยากลุ่มแอมเฟตามีน พวกยาไอซ์ ยาอี
ปกติยาจะ จะมีครึ่งชีวิต รวมถึงออกฤทธิ์ประมาน 10 ชม ครับ หมายถึงจะลดลงทีละครึ่งไปเรื่อยๆทุก10ชม การขับออกจะขับทางไตเป็นหลัก ส่วนใหญ่จะเจอได้ประมาณ1-3วันในปัสสาวะหรือเลือด
............................
การจะให้สารขับออกได้มากขึ้น ต้องทำให้ปัสสาวะอยู่ในสภาวะเป็นกรด
เช่น การกิน vitamin C ก็อาจจะพอช่วยได้ครับ
...........................
อย่างไรก็ตาม เเนะนำให้เลิกครับ ควรปรึกษาจิตเเพทย์ในการเลิกครับ เนื่องจากในระยะยาว มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น นอนไม่หลับ มือสั่น ใจสั่น ใจเต้นผิดจังหวะ อาจเสียชีวิตเฉียบพลันได้ครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ตอบโดย
ศิรินทิพย์ ผอมน้อย (นักจิตวิทยาคลินิก)
ไม่เสพเพิ่ม ดื่มน้ำ ออกกำลังกาย ค่ะ แต่การที่ร่างกายจะขับสารออกได้มากน้อยแค่ไหนนั้นขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการใช้ และสภาพร่างกายของแต่ละคนด้วยค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง
ทำยังไงให้สารเสพติดยาบ้าหายจากร่างกายภายใน3วัน
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)