10 ข้อ เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพจิต ในช่วงน้ำท่วม

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
10 ข้อ เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพจิต ในช่วงน้ำท่วม

บดีกรมสุขภาพจิต ยังได้แนะแนวทางในการดูแลจิตใจช่วงน้ำท่วม 10 ข้อ ดังนี้

  1. หายใจเข้าออกช้า ๆ 2-3 นาที เพื่อทำให้ออกซิเจนเข้าสู่สมองแล้วความเครียดจะลดลง
  2. การนอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอ จะช่วยทำให้เกิดการตัดสินใจที่ดีขึ้น หากต้องติดตามข้อมูลข่าวสารให้ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน
  3. การยืดเหยียดในท่าที่ผ่อนคลายจะช่วยให้การนอนหลับได้ดีขึ้น
  4. ความเครียด ทำให้เรารับฟังกันน้อยลงจึงต้องดูแลตัวเองด้วย 
  5. แปลงความกังวลเป็นการลงมือทำ รวมพลังครอบครัวและชุมชนรับกับสถานการณ์วิกฤตที่เกิดขึ้น
  6. ไม่ด่า ไม่ว่า ไม่ทับถม อย่าให้ความหวังดีเป็นความขัดแย้งและทำร้ายกัน
  7. ความกังวลใจจะลดลงได้ หากได้ช่วยเหลือผู้อื่น 
  8. อย่าลืมเวลาเล่น เล่านิทานกับลูก เพราะว่าเด็กก็เครียดเป็น
  9. การใส่ใจคนรอบข้างทำให้เราทุกข์น้อยลง
  10. แบ่งเวลาทำสมาธิ สวดมนต์ไหว้พระ สร้างความสงบให้จิตใจ


ทั้งนี้ หากไม่ดีขึ้น เช่น นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ใจสั่น ควรปรึกษาแพทย์ที่หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ หรือสถานพยาบาลที่อยู่ใกล้ หรือโทรสายด่วน 1323 และหมายเลขอัตโนมัติ 1667 ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง&n

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาสุขภาพจิต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 882 บาท ลดสูงสุด 51%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
The Effects of Flooding on Mental Health. ALNAP. (https://www.alnap.org/help-library/the-effects-of-flooding-on-mental-health)
Flooding and Mental Health: A Systematic Mapping Review. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4393088/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ความง่วงนอนคืออะไรและอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดได้บ่อย?
ความง่วงนอนคืออะไรและอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดได้บ่อย?

การรู้สึกว่าง่วงนอนอาจแสดงถึงความผิดปกติของการนอนหลับได้

อ่านเพิ่ม
พลังงานที่ใช้ในการทำกิจกรรม
พลังงานที่ใช้ในการทำกิจกรรม

คำนวณพลังงานที่ใช้ในแต่ละกิจกรรมง่ายๆ ทำให้สามารถเพิ่มการขยับร่างกายได้มากขึ้น

อ่านเพิ่ม