การปลูกถ่ายตาข่ายพยุงช่องคลอด

เผยแพร่ครั้งแรก 29 เม.ย. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
การปลูกถ่ายตาข่ายพยุงช่องคลอด

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ได้มีวารสารเกี่ยวกับการปลูกฝังตาข่ายหรือห่วงผยุงช่องคลอดซึ่งมีขึ้นเพื่อรักษาภาวะอุ้งเชิงกรานหย่อน (POP) หรือภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้หญิง (SUI) โดยตัวอย่างเนื้อหาที่สรุปมาจากวารสารดังกล่าวมีดังนี้:

  • การแลกเปลี่ยนตัดสินใจกับผู้เชี่ยวชาญทางสุขภาพ และตัวเลือกของคนไข้ที่จำเป็นต่อการเลือกการรักษา
  • ในกรณีการผ่าตัดรักษาภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้หญิง ผู้หญิงคนนั้นต้องเป็นผู้เลือกการรักษาเอง โดยพวกเธอต้องได้รับข้อมูลที่เกี่ยวกับการรักษาแต่ละประเภทอย่างเหมาะสมที่สุด
  • ในกรณีการผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะอุ้งเชิงกรานหย่อน หลักฐาน ณ ปัจจุบันไม่ได้แสดงให้เห็นว่าการใช้วิธีปลูกถ่ายตาข่ายช่องคลอด (ตาข่ายหรือวงแหวนพอลิโพรไพลิน หรือการตัดแต่งด้วยวัสดุทางชีวภาพ) มีผลประโยชน์มากไปกว่าการซ่อมแซมเนื้อเยื่อตามปรกติแม้แต่น้อย ทำให้กระบวนการปลูกถ่ายวัสดุพยุงช่องคลอดไม่ควรถูกแนะนำให้ใช้งานตามกรณีทั่ว ๆ ไป

1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป