เคยคิดสั้นกินยาขับเลือด เพื่อเอาลูกออกตั้งแต่ 3 เดือน จะมีผลต่อสมองของลูกหรือไม่

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
เคยคิดสั้นกินยาขับเลือด เพื่อเอาลูกออกตั้งแต่ 3 เดือน จะมีผลต่อสมองของลูกหรือไม่

คุณแม่ที่ไม่พร้อมมีบุตร มักจะคิดสั้นกินยาขับลูกหรือทำทุกวิถีทางเพื่อเอาลูกออก แต่ในบางครั้ง ยาที่ซื้อมากินเอง ไม่สามารถทำลายตัวอ่อนที่เผอิญฝังตัวแนบแน่นในท้องมารดาแล้ว นับว่าเป็นโชคดีของเด็ก แต่ถ้าคุณแม่ที่กินยาแล้วปวดท้องมาก มีเลือดออกทางช่องคลอดแล้วปล่อยให้ตั้งครรภ์ต่อไปแบบนี้ เสี่ยงในการมีลูกพิการเป็นเปอร์เซ็นต์สูงเพราะอยู่ในระยะ 3 เดือนแรก ตัวอ่อนกำลังสร้างอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ แขน ขา นิ้วมือ ทางที่ดีคุณแม่ที่ตั้งครรภ์ถ้าไม่แน่ใจในการจะมีบุตร ควรป้องกันการมี่บุตรดีกว่ามาแก้ปัญหาในตอนหลัง


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Infant of a substance using mother. MedlinePlus. (https://medlineplus.gov/ency/article/007238.htm)
Impact of Fetal Drug Exposures on the Adolescent Brain. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4827440/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (Low Birth Weights)
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (Low Birth Weights)

ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย หรือทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2.5 กิโลกรัม มักเกิดจากการคลอดก่อนกำหนด และการไม่ดูแลสุขภาพของมารดาในขณะที่ตั้งครรภ์

อ่านเพิ่ม