อารมณ์เศร้า กับ โรคซึมเศร้า

เผยแพร่ครั้งแรก 17 พ.ค. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 ม.ค. 2023 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
อารมณ์เศร้า กับ โรคซึมเศร้า

โรคซึมเศร้ากับอารมณ์เศร้าแตกต่างกัน อารมณ์เศร้าสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยมักเกิดจากการมีเหตุกระตุ้นทำให้มีอารมณ์เศร้า เช่น การถูกตำหนิ  การสูญเสียของรัก เป็นต้น อารมณ์เศร้าที่ปกติจะสามารถหายไปได้เมื่อร่างกายปรับตัวกับเหตุการณ์กระตุ้นนั้นได้ ภายในเวลา 2 สัปดาห์  แต่โรคซึมเศร้า มักจะมีอารมณ์เศร้าร่วมกับอาการผิดปกติทางกายบางอย่างเกิดอย่างต่อเนื่องนานกว่า 2 สัปดาห์ขึ้นไปโดยอาจมีเหตุการณ์มากระตุ้น หรือไม่มีก็ได้หลายคนอาจสับสนว่าตนเป็นซึมเศร้าหรือแค่มีอารมณ์เศร้า  การทำแบบประเมินซึมเศร้าด้วยตัวเองซึ่งพัฒนาโดยกรมสุขภาพจิต จะช่วยให้เราทราบว่าเรามีแนวโน้มที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่

โดยให้สำรวจอาการที่เกิดขึ้นในระยะ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาจนถึงวันนี้ ท่านมีอาการเหล่านี้มากน้อยเพียงใด

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาสุขภาพจิต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 882 บาท ลดสูงสุด 51%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

นำคะแนนของทุกช่องมารวมกันหากคะแนนรวมมากกว่า 7 คะแนนขึ้นไป แนะนำให้พบจิตแพทย์ เพื่อทำการประเมินอาการและประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายอย่างละเอียดเพื่อประกอบการวินิจฉัยโรคให้แน่ชัด พร้อมทั้งรับการรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสม.

ขอบคุณ   แบบประเมินภาวะซึมเศร้าจากกรมสุขภาพจิต


8 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Depression vs. Sadness: What’s the Difference?. Healthline. (https://www.healthline.com/health/depression/depression-vs-sadness)
Get help with low mood, sadness or depression. NHS (National Health Service). (https://www.nhs.uk/conditions/stress-anxiety-depression/low-mood-and-depression/)
Depression versus sadness: How to tell the difference. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/314418)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป