วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมสำหรับทารก

เผยแพร่ครั้งแรก 21 ก.ย. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 3 นาที
วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมสำหรับทารก

วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบช่วยป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อจากโรคปอดอักเสบ และช่วยป้องกันโรคอื่น ๆ เช่น การติดเชื้อในหูอย่างรุนแรงและโรคปอดบวมที่เกิดจากแบคทีเรีย pneumococcal แต่วัคซีนนี้ไม่ได้ป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากแบคทีเรียหรือไวรัสชนิดอื่น

เด็กบางคนมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจากการติดเชื้อโรคปอดอักเสบ เด็กทุกคนที่มีความเสี่ยงควรได้รับวัคซีนตามแผนการสร้างภูมิคุ้มกันในเด็ก

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

นอกจากนี้เด็กควรได้รับวัคซีนเมื่อพวกเขาอายุ 2 ปีขึ้นไป เพื่อป้องกันความเสี่ยง หากคุณไม่แน่ใจเกี่ยวกับสุขภาพของลูกหรือต้องการคำแนะนำเพิ่มเติม ติดต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พยาบาลหรือเภสัชกรของคุณ

เด็กจะได้รับวัคซีนเมื่อใด

เด็กจะได้รับวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบเมื่อมีอายุได้ 8 และ 16 สัปดาห์ร่วมกับการฉีดกระตุ้น (booster dose)  ระหว่างช่วงอายุ 12 ถึง 13 เดือน วัคซีนสามารถให้ได้ทุกเมื่อและการฉีดยาหนึ่งครั้งจะให้การป้องกันเป็นเวลาหลายปี

โดยปกติแล้วเด็กจะได้รับวัคซีนฉีดกระตุ้นการป้องกันโรคปอดอักเสบระหว่างอายุ 12 ถึง 13 เดือนเป็นเวลาเดียวกับที่ได้รับวัคซีน Hib / MenC, MMR และ MenB

การติดเชื้อจากโรคปอดอักเสบคืออะไรและมีการแพร่กระจายอย่างไร?

Pneumococcal infection's caused by pneumococcal bacteria. It can cause serious illness such as pneumonia  . Pneumococcal infection's also one of the most common causes of meningitis.

Up to 60% of children carry pneumococcal bacteria in the back of their nose and throat. They constantly pass these bacteria around by coughing, sneezing and close contact.

การติดเชื้อโรคปอดอักเสบเกิดจากแบคทีเรีย pneumococcal สามารถทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่รุนแรง เช่น โรคปอดบวม การติดเชื้อโรคปอดอักเสบยังเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบมากที่สุด

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

60% ของเด็กๆ แบคทีเรียโรคปอดอักเสบจะอยู่บริเวณด้านหลังของจมูกและลำคอ และจะมีการส่งผ่านแบคทีเรียนี้ตลอดเวลาผ่านการ ไอ, จามและการสัมผัสใกล้ชิด

ทำไมถึงต้องกังวลเรื่องการติดเชื้อโรคปอดอักเสบ

เพราะการติดเชื้อโรคปอดอักเสบสามารถก่อให้เกิดโคต่งๆตามมา ดังนี้:

  • โรคหลอดลมอักเสบ (bronchitis)
  • หูและไซนัสติดเชื้อ
  • การติดเชื้อที่มีความเสี่ยงถึงชีวิตจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากโลหิต (การติดเชื้อในกระแสเลือด)
  • โรคปอดบวม (ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้)

เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีและเด็กที่มีโรคเกี่ยวกับสุขภาพบางอย่างมีโอกาสที่ไม่สบายในการติดเชื้อโรคปอดอักเสบมากขึ้น

วัคซีน

เด็กจะได้รับวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบเมื่อมีอายุได้ 8 และ 16 สัปดาห์ร่วมกับการฉีดกระตุ้น (booster dose)  ระหว่างช่วงอายุ 12 ถึง 13 เดือน เป็นเวลาเดียวกับที่ได้รับวัคซีน Hib / MenC, MMR และ MenB

ประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ

Studies have shown that the pneumococcal vaccine's very effective in protecting your baby against one of the most common causes of meningitis, and against other conditions such as severe ear infections and pneumonia caused by pneumococcal bacteria.

งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบมีประสิทธิภาพสูงในการปกป้องลูกน้อยจากสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบมากที่สุดและช่วยป้องกันโรคอื่น ๆ เช่นการติดเชื้อในหูอย่างรุนแรงและโรคปอดบวมที่เกิดจากแบคทีเรีย pneumococcal

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ฉีดวัคซีนเด็ก ตรวจพัฒนาการเด็กวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 728 บาท ลดสูงสุด 57%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

เด็กจำเป็นต้องได้รับวัคซีนอีกเมื่อมีอายุได้ 12 หรือ 13 เดือนเพื่อขยายการป้องกันนี้

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าวัคซีนนั้นปลอดภัย

ยาทุกชนิด(รวมทั้งวัคซีน) ได้รับการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัยและประสิทธิภาพโดย Medicines and Healthcare Products Regulatory Agency (MHRA) และวัคซีนเหล่านี้ผ่านการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยอย่างสูงเพื่อให้ใช้งานในประเทศอังกฤษ ประเทศต่างๆในทวีปยุโรป รวมทั้งแจกจ่ายไปสู่หลายล้านคนทั่วโลก

การใช้งานจะถูกดูแลความปลอดภัยโดย MHRA และจะถูกจับตาดูต่อไป

จะได้รับวัคซีนจากที่ไหน

เด็กจะได้รับวัคซีนโรคปอดอักเสบ ที่สถานพยาบาลใกล้บ้านคุณ

เด็กควรจะฉีดวัคซีนนี้เมื่อมีอายุเท่าไหร่

เด็กจะได้รับวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบเมื่อมีอายุได้ 8 และ 16 สัปดาห์ร่วมกับการฉีด กระตุ้น (booster dose)อีก1 เข็ม   ระหว่างช่วงอายุ 12 ถึง 13 เดือน แพทย์จะเป็นผู้นัดหมายการฉีดวัคซีนสำหรับแผนการสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กให้กับคุณ

หลังจากการให้วัคซีน

หลังจากได้รับวัคซีนอาจมีผลข้างเคียงตามมา แต่ปกติแล้วไม่รุนแรงนัก

ผลข้างเคียง

อาการต่างๆ จะน้อยลงและหายไปภายในสองสามวัน วัคซีนนี้ไม่มีแบคทีเรียที่มีชีวิตและไม่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้

ถ้าคุณกังวลเกี่ยวกับลูก เชื่อมั่นในสัญชาตญาณ ควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลหรือคลินิกใกล้บ้านคุณได้ทันที และรีบไปพบแพทย์ทันทีที่ลูกมีไข้มากกว่า 39° เซลเซียส

Won’t giving my baby the MMR and pneumococcal vaccines at the same time overload their immune system?

ไม่ควรให้ลูกฉีดวัคซีน MMR พร้อมกับ วัคซีนโรคปอดอักเสบเพราะระบบภูมิคุ้มกันจะได้รับวัคซีนมากเกินไปใช่หรือไม่

เปล่าเลย ระบบภูมิคุ้มกันของทารกสามารถรองรับวัคซีน MMR และ pneumococcal ได้ในเวลาเดียวกัน

ตั้งแต่แรกเกิด ระบบภูมิคุ้มกันของทารกจะปกป้องพวกเขาจากเชื้อโรคที่อยู่รอบตัว หากไม่มีการป้องกันนี้ทารกจะไม่สามารถรับมือกับแบคทีเรียและไวรัสนับหมื่นที่ปกคลุมผิวหนัง จมูก ลำคอและลำไส้ได้ การป้องกันนี้จะเป็นไปตลอดชีวิต ในทางทฤษฎี ทารกสามารถตอบสนองต่อวัคซีนประมาณ 10,000 วัคซีนได้ตลอดเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ


11 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Your Child's Immunizations: Pneumococcal Vaccines (PCV, PPSV) (for Parents). Nemours KidsHealth. (https://kidshealth.org/en/parents/pneumococcal-vaccine.html)
Pneumococcal Vaccine Recommendations | Vaccines and Immunizations. Centers for Disease Control and Prevention (CDC). (https://www.cdc.gov/vaccines/vpd/pneumo/hcp/recommendations.html)
Pneumococcal Vaccine Schedule and Side Effects. WebMD. (https://www.webmd.com/children/vaccines/pneumococcal-vaccine-1#1)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)