กระดูกข้อเท้าหัก

เผยแพร่ครั้งแรก 12 พ.ค. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
กระดูกข้อเท้าหัก

ข้อเท้าเป็นอีกแห่งที่กระดูกหักได้ง่าย ข้อเท้ามีกระดูกหลายชิ้นทั้งกระดูกขาและกระดูกข้อเท้าเอง ซึ่งการหักเกิดจากกระดูกชิ้นใดเพียงชิ้นเดียวหรือหลายชิ้นพร้อมกัน ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงของสาเหตุ

กระดูกข้อเท้าหักพบได้ทุกอายุ แต่พบสูงขึ้นในผู้สูงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป โดยในวัยหนุ่มสาว ผู้ชายมีโอกาสเกิดได้บ่อยกว่าผู้หญิง จากประเภทของงานหรือกีฬา แต่สำหรับวัยสูงอายุ พบในผู้หญิงบ่อยกว่าผู้ชาย เนื่องจากการหมดประจำเดือนถาวร

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจกระดูกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 534 บาท ลดสูงสุด 61%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

ปัจจัยเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกข้อเท้าหักได้แก่ ข้อเท้าบิด ข้อเท้าแพลง ลื่นล้ม และอุบัติเหตุทางรถยนต์

อาการกระดูกข้อเท้าหัก

เช่นเดียวกับอาการกระดูกหักทั่วไป เพียงแต่เกิดกับกระดูกข้อเท้า อาการต่างๆ เหล่านั้นที่ได้กล่าวแล้วจึงเกิดที่ข้อเท้า (อ่านเพิ่มเติมในหัวข้อกระดูกหัก)

การวินิจฉัยและแนวทางการักษา

เช่นเดียวกับการวินิจฉัยและแนวทางการรักษากระดูกหักทั่วไป (อ่านเพิ่มเติมในหัวข้อกระดูกหัก)

ผลข้างเคียงและความรุนแรง

กระดูกข้อเท้าหักมักไม่ทำให้เสียชีวิต แต่คุณภาพชีวิตลดลง เนื่องจากเดินไม่ได้ และมีโอกาสเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำที่ขาได้ แต่น้อยกว่าจากกระดูกสะโพกหัก ซึ่งผลข้างเคียงจากกระดูกข้อเท้าหักคือ ข้อเท้าเจ็บหรืออักเสบเรื้อรัง ข้อเท้าติด เคลื่อนไหวไม่ปกติ

การดูแลตนเอง การพบแพทย์ และการป้องกันกระดูกข้อเท้าหัก

เช่นเดียวกับที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่องกระดูกหักในภาพรวม (อ่านเพิ่มเติมในหัวข้อนั้น)

 


4 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
กระดูกหัก
กระดูกหัก

ทำความรู้จักกระดูกหักแต่ละชนิด เมื่อสงสัยว่ากระดูกหักจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร อ่านเลย!

อ่านเพิ่ม
การดูแลตนเองเมื่อใส่เฝือก
การดูแลตนเองเมื่อใส่เฝือก

ข้อควรปฏิบัติขณะที่ใส่เฝือก รวมถึงข้อควรระวังหากเกิดอาการผิดปกติ

อ่านเพิ่ม