มะแว้งต้น

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
มะแว้งต้น

ชื่อท้องถิ่น : มะแว้งขม มะแว้งดำ (เหนือ) , มะแว้งคม (สุราษฎร์ธานี – สงขลา) , มะแว้ง แว้งชม(สงขลา สุราษฎร์ธานี)

ลักษณะของพืช
มะแว้งต้น เป็นไม้พุ่ม มีขน และหนามแหลม กระจายอยู่ทั่วไป ใบคล้ายใบมะเขือพวง ดอกออกเป็นช่อสีม่วงซีด ผลกลม เมื่อสุกสีส้ม

ช่วงเวลาที่ใช้เป็นยา : ผลแก่สด

รสและสรรพคุณยาไทย : รสขม เป็นยาสกัดเสมหะ

วิธีใช้
ใช้รักษาอาการไอและขับเสมหะ นำเอาผลแก่สด 5 – 10 ผล โขลกพอแหลก คั้นเอาแต่น้ำใส่เกลือจิบบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้ำและเนื้อ กินบ่อยๆ จนกว่าอาการ จะดีขึ้น


1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Solanum trilobatum in the management of atopy: Through inhibition of mast cell degranulation and moderation of release of interleukins. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3140120/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
มะเขือพวง (Pea eggplant)
มะเขือพวง (Pea eggplant)

มะเขือพวง จากวัชพืชในอเมริกาใต้ สู่ผักพื้นบ้านหาง่าย มากสรรพคุณเพื่อสุขภาพ ของทวีปเอเชีย

อ่านเพิ่ม