ในการปรึกษาเรื่องโรคติดต่อทางเพศ ทำไมแพทย์ต้องตรวจสุขภาพของคู่สมรสด้วย

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ในการปรึกษาเรื่องโรคติดต่อทางเพศ ทำไมแพทย์ต้องตรวจสุขภาพของคู่สมรสด้วย
a10.gif

 แพทย์ต้องตรวจคู่สมรส เพราะคู่สมรสอาจเป็นผู้นำโรคนั้นมาให้ผู้ป่วย หรือผู้ป่วยอาจจะแพร่เชื้อโรคให้แก่คู่สมรสของตน ก่อนที่จะได้รับการรักษาที่ถูกต้อง นอกจากนี้หากไม่รักษาคู่สมรสของผู้ป่วยไปพร้อมกัน เมื่อรักษาผู้ป่วยหายแล้วก็อาจกลับไปติดโรคมาอีกได้ ถึงแม้คู่สมรสไม่มีอาการ ก็จำเป็นต้องไปพบแพทย์ เพราะโรคหลายชนิดอาจไม่ทำให้เกิดอาการหรือมีอาการเพียงเล็กน้อย แต่ก็ยังติดต่อไปสู่ผู้อื่นรวมทั้งบุตรในครรภ์ได้ ในกรณีที่จำเป็นเพื่อความราบรื่นของความสัมพันธ์ของคู่สมรส แพทย์อาจจะใช้วิธีเลี่ยงให้บอกคู่สมรสให้มาพบเพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูก (แล้วทำการตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไปด้วยพร้อมกัน) ก็ได้

วิธีป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  • ไม่มียาฉีด ยากิน หรือยาทาที่สามารถจะป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
  • การใช้ถุงยาวจะช่วยป้องกันโรคได้บ้าง แต่ไม่ทุกชนิด
  • วิธีที่ดีที่สุดคือการมีเพศสัมพันธ์เฉพาะกับคู่สมรสของตนเอง
a10.gif

 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นี้เป็นโรคกลุ่มเดียวที่แพทย์มีคาถาให้ผู้ป่วยไว้ป้องกันโรค คาถานั้นคือ “กาเมสุมิจฉาจาราเวรมณี” การงดเว้นการประพฤติผิดในประเวณีอันเป็นศีลข้อสามของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


5 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
How Do Doctors Test for STDs? (for Teens). Nemours KidsHealth. (https://kidshealth.org/en/teens/std-testing.html)
STD Testing: Who Should Be Tested and What’s Involved. Healthline. (https://www.healthline.com/health/sexually-transmitted-diseases/getting-tested)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป