กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

รวมช่องทางบริจาคช่วยโรงพยาบาลสู้ COVID-19

รวมช่องทางบริจาคช่วยเหลือสถานพยาบาลรองรับ COVID-19
เผยแพร่ครั้งแรก 25 มี.ค. 2020 อัปเดตล่าสุด 7 ม.ค. 2021 เวลาอ่านประมาณ 2 นาที
รวมช่องทางบริจาคช่วยโรงพยาบาลสู้ COVID-19

เรื่องควรรู้

ขยาย

ปิด

  • จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ทำให้หลายโรงพยาบาลเปิดรับบริจาคเพื่อช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในการต่อสู้กับสถานการณ์ระบาด COVID-19
  • หากสนใจบริจาค สามารถเลือกช่องทางบริจาคให้กับแต่ละโรงพยาบาลได้ที่ด้านล่าง
  • โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย มูลนิธิซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เชิญชวนให้ประชาชนร่วมกันบริจาคเพื่อเป็นทุนสนับสนุนนักวิจัยไทยในการค้นคว้าวิจัย พัฒนา และผลิตวัคซีนต้านโควิด-19
  • นอกจากการบริจาคเพื่อช่วยเหลือบุคลากรทางการแพทย์แล้ว อย่าลืมที่จะดูแลตนเองอย่างเหมาะสม โดยการหลีกเลี่ยงการไปในพื้นที่เสี่ยง สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน และหมั่นล้างมือ
  • เปรียบเทียบราคาและแพ็กเกจตรวจคัดกรองโรคโควิด 19 (COVID-19)

ร่วมบริจาคช่วยบุคลากรทางการแพทย์เพื่อต่อสู้กับสถานการณ์การระบาด COVID-19 กับช่องทางต่างๆ ที่ HD รวบรวมมาไว้ให้ได้แล้วที่นี่

ช่องทางบริจาคให้โรงพยาบาลสู้ COVID-19

สามารถเลือกบริจาคให้ตามช่องที่สะดวก ดังต่อไปนี้

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจโควิด-19 (COVID-19) วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 450 บาท ลดสูงสุด 65%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

1.มูลนิธิรามาธิบดีและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

ชื่อบัญชี มูลนิธิรามาธิบดี

  • ธนาคารกรุงเทพ เลขที่บัญชี 090-3-50015-5
  • ธนาคารกสิกรไทย เลขที่บัญชี 879-2-00448-3
  • ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 026-3-05216-3

2.คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ชื่อบัญชี ศิริราชสู้ภัยโควิด

  • ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 016-3-00049-4

3.โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

ชื่อบัญชี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย (ฬ. จุฬา สะพานบุญ)

  • ธนาคารกสิกรไทย เลขที่บัญชี 059-1-93894-0

4.โรงพยาบาลราชวิถี

ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลราชวิถี

  • ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 051-2-16322-1

5.โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ชื่อบัญชี รพ. ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (กองทุนบริจาค)

  • ธนาคารทหารไทย เลขที่บัญชี 050-2-00002-9

6.คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจโควิด-19 (COVID-19) วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 450 บาท ลดสูงสุด 65%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

  • ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 566-4-04844-0

7.โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

  • ธนาคารทหารไทย เลขที่บัญชี 038-2-70902-2

8.แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย

ชื่อบัญชี แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย

  • บริจาค 100 บาท กด *948*1919*100# จากนั้นกดโทรออก
  • บริจาค 10 บาท กด *948*1919*10# จากนั้นกดโทรออก

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน่วยบริการข้อมูล หรือเว็บไซต์ของแต่ละโรงพยาบาล

โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย 

โครงการวัคซีนเพื่อคนไทย มูลนิธิซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เชิญชวนให้ประชาชนร่วมกันบริจาคเพื่อเป็นทุนสนับสนุนนักวิจัยไทยในการค้นคว้าวิจัย พัฒนา และผลิตวัคซีนต้านโควิด-19

ผู้ที่สนใจ สามารถบริจาคเงิน 500 บาท ผ่านบัญชี มูลนิธิซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ เลขที่ 162-6-01946-0 ประเภท กระแสรายวัน ธนาคารกรุงไทย สาขา จามจุรีสแควร์ โดยสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.cuenterprise.co.th

บริจาคโลหิตช่วง COVID-19 ปลอดภัยไหม?

จากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ทำให้จากปกติที่สภากาชาติจะได้รับบริจาคโลหิต 2,000-2,500 ยูนิต กลับลดลงจนไม่ถึง 1,000 ยูนิตต่อวัน ซึ่งถือเป็นปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย เนื่องจากหลายคนไม่มั่นใจความปลอดภัยในการบริจาคโลหิต และเกรงว่าจะเสี่ยงต่อการติด COVID-19

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจโควิด-19 (COVID-19) วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 450 บาท ลดสูงสุด 65%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

สภากาชาติไทยจึงได้มีมาตรการหลายข้อในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่ต้องการจะบริจาคโลหิต ดังนี้

  • ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายของผู้เข้าบริจาค โดยรวมถึงผู้คนที่เข้าออกภายในอาคารด้วย หากมีอุณหภูมิเกินกว่า 37.5 องศา จะมีเอกสารให้คำแนะนำเพื่อปรึกษาแพทย์ต่อไป และยังต้องบริจาคโลหิต แต่หากพบว่าเจ้าหน้าที่มีอุณหภูมิเกิน ก็จะต้องพบแพทย์เพื่อทำการวิจินฉัยเช่นกัน และหากแพทย์ไม่อนุญาตให้ทำงานต่อ จะให้เจ้าหน้าที่ลาหยุดพักผ่อน
  • ผู้เสี่ยงติดเชื้องดรับบริจาค ก่อนเข้าบริจาคโลหิต จะต้องมีการกรอกข้อมูลเบื้องต้น เช่น สุขภาพ ที่อยู่อาศัย และการเดินทางจากประเทศต่างๆ หากพบว่าเพิ่งกลับจากประเทศที่มีการระบาด หรือมีประวัติเข้าใกล้ผู้ป่วย COVID-19 จะให้งดการบริจาค 4 สัปดาห์
  • มีจุดทำความสะอาดทั่วอาคาร ด้วยเจลล้างมือที่มีแอลกอฮอล์ 70% ตามจุดต่างๆ ทั้งส่วนผู้เข้าบริจาคและเจ้าหน้าที่
  • ทำความสะอาดแบบรายวัน โดยจะเน้นจุดที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก เช่น จุดลงทะเบียน เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดความดัน ลิฟท์ เก้าอี้ โต๊ะ ลูกบีบ เตียง และบริเวณพื้นห้องปฏิบัติการ ด้วยน้ำยาฟอกขาว 0.5% (Soium hypochlorite) รวมถึงแอลกอฮอล์ 70% ตามความเหมาะสม

จึงสามารถมั่นใจได้ว่าการบริจาคโลหิตจะมีความปลอดภัย คุณสามารถบริจาคโลหิตได้ที่ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติที่มีอยู่ทั่วประเทศ

อย่างไรก็ตาม การเดินทางมาบริจาคควรปฏิบัติตามมาตรการป้องกันที่กระทรวงสาธารณสุขระบุไว้ หมั่นทำความสะอาดมือ สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงที่ชุมมชนแออัด และไม่ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น

เปรียบเทียบราคาและแพ็กเกจตรวจคัดกรองโรคโควิด 19 (COVID-19) จากคลินิกและโรงพยาบาลใกล้คุณ และไม่พลาดทุกการอัปเดตเรื่องสุขภาพและโปรโมชั่นเมื่อกดดาวน์โหลดแอป iOS และ Android


1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
สภากาชาดไทย, กาชาดวางมาตรการเข้ม หน่วยรับบริจาคโลหิตทั่วประเทศปลอด COVID-19, (https://www.redcross.or.th/news/information/10005/), 9 มีนาคม 2563.

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
รู้จัก COVID-19 หรือโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ต้นเหตุผู้ป่วยปอดบวมในเมืองอู่ฮั่น
รู้จัก COVID-19 หรือโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ต้นเหตุผู้ป่วยปอดบวมในเมืองอู่ฮั่น

มารู้จักเชื้อโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ข้อมูลที่มี ณ ต้นปี 2020 พร้อมวิธีป้องกันและลดความเสี่ยงติดเชื้อ ไขคำตอบ มีวัคซีนป้องกันหรือไม่?

อ่านเพิ่ม
แพทย์ไทยอาจพบสูตรยาต้านเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แพทย์ไทยอาจพบสูตรยาต้านเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

แพทย์ไทยจากโรงพยาบาลราชวิถี อาจพบวิธีรักษาโคโรนาแล้ว! อ่านข้อมูลอัพเดทจากแพทย์และการแถลงข่าวของกระทรวงสาธารณะสุขได้ที่นี่

อ่านเพิ่ม
“Social distancing” คืออะไร แค่ไหนถึงจะห่างพอ?
“Social distancing” คืออะไร แค่ไหนถึงจะห่างพอ?

มาดูกันว่า Social distancing จะช่วยลดจำนวนผู้ติดเชื้อได้จริงหรือ? แล้วต้องเว้นระยะห่างแค่ไหนถึงจะปลอดภัยจาก COVID-19

อ่านเพิ่ม