ฮอร์โมน HCG ต่ำ มีอันตรายต่อการตั้งครรภ์อย่างไร

ทำความเข้าใจกับระดับ ฮอร์โมน Human Chrorionic Gonardotropin(HCG)
เผยแพร่ครั้งแรก 28 ธ.ค. 2016 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ฮอร์โมน HCG ต่ำ มีอันตรายต่อการตั้งครรภ์อย่างไร

ผู้หญิงจะรับรู้ภาวะตั้งครรภ์จากผลบวกของชุดทดสอบการตั้งครรภ์ที่บ้าน ซึ่งจะวัดระดับฮอร์โมน Human Chrorionic Gonardotropin (hCG) ในปัสสาวะ ซึ่งผลิตจากเนื้อเยื่อรก และตามมาด้วยการฝังตัวในมดลูกของตัวอ่อน  ระดับฮอร์โมนนี้จะเพิ่มเป็น 2 เท่า ทุก 2-3 วัน เพื่อเป็นการยืนยันภาวะตั้งครรภ์ แพทย์จะยืนยันด้วยการตรวจเชิงปริมาณจากเลือดซึ่งจะมีความไวมากกว่าการตรวจจากปัสสาวะ ภาวะตั้งครรภ์สามารถยืนยันได้ภายใน 11 วัน

ผลตรวจระดับฮอร์โมน hCG

เมื่อแพทย์ระบุว่าระดับฮอร์โมน hCG ของหญิงตั้งครรภ์ค่อนข้างต่ำ หมายถึง ปริมาณฮอร์โมนในเลือดที่วัดได้ต่ำกว่าค่ามาตรฐานต่อสัปดาห์ตั้งแต่วันที่ประจำเดือนไม่มา (วัดเป็น  milli-international units (MIU) per milliliter (ML)) ในช่วงตั้งครรภ์เริ่มแรก ระดับฮอร์โมน hCG ที่ต่ำ อาจไม่ต้องกังวลมากนัก เพราะยังเป็นช่วงที่แตกต่างกันในแต่ละคน แต่เมื่อเวลาผ่านไป ถ้าระดับฮอร์โมน hCG เพิ่มขึ้นช้า อาจเป็นสัญญาณของภาวะแท้งบุตร การประเมินภาวะแท้งบุตรจากระดับฮอร์โมน hCG ในช่วงตั้งครรภ์ช่วงต้น จะต้องประเมินหลาย ๆ วัน  โดยเฉพาะถ้าพบระดับที่ต่ำลงหลังจากพบระดับที่สูงก่อนหน้านั้น และถ้าลดลงติดต่อกัน 2-3 วัน อาจเป็นการเริ่มของภาวะแท้งบุตร

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจระดับฮอร์โมนวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 382 บาท ลดสูงสุด 69%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

ระดับฮอร์โมน hCG ที่ปรกติ

ระดับฮอร์โมนตัวนี้จะแตกต่างกันในผู้หญิงแต่ละคน ดังนั้นการประเมินแนวโน้มจึงต้องใช้ผลตรวจที่มากกว่าหนึ่งครั้ง

ตารางนี้เป็นแนวโน้มของระดับฮอร์โมน hCG ในหญิงตั้งครรภ์

Weeks From Last Menstrual Period hCG Level (in mIU/ml)
3 5 to 50
4 5 to 426
5 18 to 7,340
6 1,080 to 56,500
7-8 7,6590 to 229,000
9-12 25,700 to 288,000
13-16 13,300 to 254,000
17-24 4,060 to 165,400
25-40 3,640 to 117,000

ระดับฮอร์โมน Human Chrorionic Gonardotropin (hCG) จะเพิ่มอย่างรวดเร็วในช่วงไตรมาสแรก แพทย์มักจะไม่ใช้ฮอร์โมนตัวนี้ในการประเมินการเจริญเติบโตของทารกในไตรมาส 2 หรือ 3 ยกเว้นการตรวจวัดความผิดปกติของทารกใน the alpha fetoprotein test, or AFP


4 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่

เรื่องง่ายๆ ที่คุณแม่ทุกคนต้องใส่ใจเพราะอัตราการเต้นของหัวใจสัมพันธ์กับความปลอดภัยของลูกน้อย

อ่านเพิ่ม
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?

เรียนรู้สัญญาณการตั้งครรภ์นอกมดลูกก่อนที่มันจะฉีกขาด

อ่านเพิ่ม
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?

การตั้งครรภ์ที่เร็วเกินไปที่จะยืนยันด้วยวิธีการทางชีวเคมี

อ่านเพิ่ม