April 25, 2017 19:55
ตอบโดย
ศิรินทิพย์ ผอมน้อย (นักจิตวิทยาคลินิก)
วัยทองจะมีอายุโดยเฉลี่ยประมาณ 45-55 ปี ค่ะ
อาการของคุณเป็นอาการปวดหัวในผู้สูงอายุ ซึ่งอาจเกิดจากโรคปวดศีรษะชนิดไม่มีความผิดปกติในสมองเช่น ไมเกรน หรือปวดจากกล้ามเนื้อตึง หรือปวดศีรษะจากความผิดปกติในสมอง เช่นหลอดเลือดในสมองอักเสบ ก้อนเนื้องอกในสมอง ความผิดปกติจากโรคทางกายอื่นๆ
หากมีอาการปวดบ่อย ปวดรุนแรง ร่วมกับมีอาการผิดปกติอื่นๆ ควรไปพบแพทย์รับการตรวจหาสาเหตุของอาการและรับการรักษาที่เหมาะสมตามสาเหตุของโรคค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
ตอบโดย
นิชดา พงษ์ธัญญกรณ์ (แพทย์ทั่วไป) (พญ.)
ปวดศีรษะในวัยทองเป็นเรื่องปกติค่ะ เนื่องมาจากฮอร์โมน Estrogen ที่ลดลง ส่วนมากเป็นการปวดแบบไมเกรน ซึ่งจะมีอาการคือ ปวดศีรษะข้างเดียว ปวดตุ้บๆ มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วยเป็นบางครั้ง ทนแสงแดดจ้าหรือเสียงดังไม่ค่อยได้ค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปวดหัวแต่ไม่มีไข้ เวลานั่งรถมอไซค์มันกระเทือนจะปวดกระเทือนมาที่หัวด้วยเป็นเพราะอะไรค่ะ อายุ50ปี
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
อายุ 48 ปวดหัวข้างเดียวก่อนและระหว่างมีรอบเดือนหลายวันติดกัน ต้องทานยาแก้ปวดชนิดไหน?
อายุ 48 ปวดหัวข้างเดียวก่อนและระหว่างมีรอบเดือนหลายวันติดกัน ต้องทานยาแก้ปวดชนิดไหน?
ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 386 บาท ลดสูงสุด 61%
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
อายุ45ปวดหัวไมเกรนบ่อยและรอบเดือนไม่มรหมดแล้วจะแก้ไขอย่างไรคะ
อายุ68ปวดหัวบ่อย ไม่มีอาการอื่น เป็นอะไรคะ เป็นอาการวัยทองไหม
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)