January 05, 2019 20:21
ตอบโดย
วชิรวิทย์ สุทธิศักดิ์ (แพทย์ทั่วไป) (นพ.)
ถ้าใส่ถุงยาง เเล้วถุงยางไม่รั่วไม่เเตกก็ไม่ต้องกินครับ
ส่วนที่กินไปเเล้ว
หลังรับประทานยาคุมฉุกเฉินจะมีเลือดออกทางช่องคลอดได้ ประมาณ ภายใน1 สัปดาห์หลังกินยา ซึ่งไม่ใช่เลือดประจำเดือน
ส่วนประจำเดือนจะมาไกล้เคียงกับรอบประจำเดือนปกติ เเต่อาจมาเร็วหรือช้ากว่ารอบเดือนปกติได้ 1-3สัปดาห์ครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ตอบโดย
จินตนา แสงโพธิ์ (เภสัชกร)
หากใช้ถุงยางถูกต้อง และไม่รั่วซึมหรือฉีกขาด จะมีโอกาสตั้งครรภ์ 2% ค่ะ ในขณะที่การใช้ยาคุมฉุกเฉิน ต่อให้รับประทานเร็วและครบขนาด ก็ยังมีโอกาสตั้งครรภ์ได้อย่างน้อย 15%
ดังนั้น ถ้ามั่นใจว่าใช้ถุงยางถูกต้อง และตรวจสอบแล้วว่าไม่รั่วซึมหรือฉีกขาด ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องรับประทานยาคุมฉุกเฉินเพิ่มนะคะ เพราะไม่ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกัน แต่เพิ่มผลข้างเคียงจากยาโดยไม่จำเป็น
แต่ถ้าใช้ถุงยางไม่ถูกต้อง หรือถุงยางรั่วซึมหรือฉีกขาด จะมีความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์สูงขึ้น และจำเป็นจะต้องรับประทานยาคุมฉุกเฉินเป็นวิธีป้องกันสำรองโดยเร็ว ยิ่งเร็วยิ่งดี อย่างช้าไม่เกิน 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์ เพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าวค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ละหลังจากมีเพสสัมพันละเหมือนเยี่ยวบ่อยมากแต่เป็นสีใสแต่กินผลไม้ข้าวไปเยอะมากค่ะ. กังวลอาการแปลกๆเมื่อวานมีเลือดสองหยดตกขาวนิดเดียว
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
กินยาฉุกเฉินแบบเม็ดเดียวไปวันที่1 ละพึ่งมีอะไรกับแฟนวันนี้ใส่ถุงยางถุงยางไม่รั่วควรกินมั้ยค่ะ วันที่1ก็ใส่แต่กลัวพลาดเลยกินไปเม็ดเดียวละแผงเดียว
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)