ชื่อท้องถิ่น : จอยนาง (เชียงใหม่) , เถาวัลย์เขียว (ภาคกลาง) , เถาหญ้านางหญ้าภคินี (กลาง) ,จ้อยนาง (เชียงใหม่) , วันยอ (สุราษฎร์ธานี)
ลักษณะของพืช
ย่านางเป็นไม้เลื้อย รูปใบคล้ายรูปไข่ หรือรูปไข่ขอบขนาน ปลายใบเรียว แหลม โคนมน ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก ผลสีเหลืองแดง
ส่วนที่ใช้เป็นยา : รากแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย : รากย่านางแก้ไข้ทุกชนิด
วิธีใช้
รากแห้งใช้แก้ไข้ โดนใช้ครั้งละ 1 กำมือ (หนัก 15 กรัม) ต้มดื่ม 3 ครั้งก่อนอาหาร
ย่านาง
เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Bioactive Compounds and Encapsulation of Yanang (Tiliacora Triandra) Leaves. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4202422/)
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7
ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน
ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)
ขอบคุณสำหรับการให้คะแนนค่ะ
- ถามหมอ
- แพ็กเกจสุขภาพ
- บทความน่าอ่าน
- ทำแบบทดสอบ
- รีวิวจากผู้ใช้จริง
- ดาวน์โหลดแอป
- กลับขึ้น ด้านบน