กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

ประเภทของสารก่อภูมิแพ้

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ประเภทของสารก่อภูมิแพ้

สิ่งที่ทำให้ร่างกายเกิดอาการแพ้เรียกว่า สารก่อภูมิแพ้ ซึ่งมีมากมายหลายชนิด สารแต่ละชนิดอาจถูกจัดเป็นต้นเหตุของภูมิแพ้ในแต่ละคนได้ทั้งสิ้น สารก่อภูมิแพ้แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามวิธีการที่เข้าสู่ร่างกายคนเราได้ดังต่อไปนี้

 ทางระบบหายใจ มักจะแพร่กระจายอยู่ในอากาศ เข้าสู่ร่างกายคนเราโดยการหายใจและทำให้เกิดอาการภูมิแพ้ต่าง ๆ กัน ได้แก่ ไรฝุ่น แมลงสาบ แบคทีเรีย ขนสัตว์ เกสรดอกไม้ ไอ ควัน หมอก น้ำมัน น้ำหอม เป็นต้น

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

 โดยการสัมผัส มักอยู่ในพืชที่มีพิษ โลหะ สีย้อม เมื่อสัมผัสกับผิวหนังจะทำให้ผิวหนังบริเวณนั้นบวมแดงหรือคัน เป็นต้น

 ทางการดูดซึมเข้ากระแสเลือด เช่น ยาฉีด แมลงสัตว์กัดต่อย

 โดยการกิน ได้แก่ นมสด โปรตีน อาหารทะเล ถั่วละสง เบียร์  เครื่องเทศ เครื่องปรุง ไข่ เป็นต้น


5 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Food allergy. NHS (National Health Service). (https://www.nhs.uk/conditions/food-allergy/)
Allergies: What are the Symptoms and Types? (https://www.webmd.com/allergies/guide/allergy-symptoms-types)
The 8 Most Common Food Allergies. Healthline. (https://www.healthline.com/nutrition/common-food-allergies)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป