ชื่อท้องถิ่น : มะแว้งเถา (กรุงเทพฯ) แคว้งเคีย (ตาก)
ลักษณะของพืช
มะแว้งเครือ เป็นไม้เลื้อยหรือไม่พุ่ม มีหนาตามส่วนต่างๆ ใบรูปกลมรี ขอบใบหยักเว้า 2 – 5 หยัก ผิวใบอาจเรียบหรือมีหนามเล็กๆ ตามเส้นกลางใบ ดอกออกเป็นช่อ คล้ายดอกมะเขือ มีสีม่วง เกสรสีเหลือง ผลกลม ตอนดิบสีเขียวมีลายเล็กน้อย สุกเปลี่ยนเป็นสีแดงสด
ส่วนที่ใช้เป็นยา : ผลแก่สด
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา : ผลสุก
รสและสรรพคุณยาไทย : รสขม เป็นยากัดเสมหะ
วิธีใช้
ใช้รักษาอาการไอและขับเสมหะ นำเอาผลแก่สด 5 – 10 ผล โขลกพอแหลก คั้นเอาแต่น้ำ ใส่เกลือรับประทานบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้ำและเนื้อจนกว่าอาการจะดีขึ้น
- อ่านบทความ
- อยู่ดี กินดี
- การกินเพื่อสุขภาพ
- มะแว้งเครือ
มะแว้งเครือ
เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
10 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Govindan, S & Subramanian, Viswanathan & Vijayasekaran, V & Alagappan, R. (2004). Further studies on the clinical efficacy of Solanum xanthocarpum and Solanum trilobatum in bronchial asthma. Phytotherapy research : PTR. 18. 805-9. 10.1002/ptr.1555. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/8176704_Further_studies_on_the_clinical_efficacy_of_Solanum_xanthocarpum_and_Solanum_trilobatum_in_bronchial_asthma)
Nataraj, Nirmala & B, Ramachandramurty. (2014). PRELIMINARY PHYTOCHEMICAL SCREENING OF SOLANUM TRILOBATUM (L.) YOUNG LEAVES. INTERNATIONAL RESEARCH JOURNAL OF PHARMACY. 5. 80-82. 10.7897/2230-8407.050216. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/269846629_PRELIMINARY_PHYTOCHEMICAL_SCREENING_OF_SOLANUM_TRILOBATUM_L_YOUNG_LEAVES)
Vijayasekar, Aswitha & Rajalakshmi, R. & Swathika, M. & Muthukumaran, Peraman & Nachimuthu, Saraswathy. (2015). Pharmacognostical evaluation on the leaves of Solanum trilobatum. 7. 538-541. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/301589430_Pharmacognostical_evaluation_on_the_leaves_of_Solanum_trilobatum)
Emmanuel, S & Ignacimuthu, S & Perumalsamy, Ramar & Amalraj, T. (2007). Antiinflammatory activity of Solanum trilobatum. Fitoterapia. 77. 611-2. 10.1016/j.fitote.2006.09.009. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/6740135_Antiinflammatory_activity_of_Solanum_trilobatum)
Ahmed, K.S.Z. & Sidhra, Syed & Ponmurugan, Ponnusamy & Kumar, Balasubramanian. (2016). Ameliorative potential of Solanum trilobatum leaf extract and fractions on lipid profile and oxidative stress in experimental diabetes. Pakistan journal of pharmaceutical sciences. 29. 1571-1578. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/309253893_Ameliorative_potential_of_Solanum_trilobatum_leaf_extract_and_fractions_on_lipid_profile_and_oxidative_stress_in_experimental_diabetes)
Divyagnaneswari, Divya & Christybapita, D & Michael, Dinakaran. (2008). Immunomodulatory Activity of Solanum trilobatum Leaf Extracts in Oreochromis mossambicus. Diseases in Asian Aquaculture. 6. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/268365721_Immunomodulatory_Activity_of_Solanum_trilobatum_Leaf_Extracts_in_Oreochromis_mossambicus)
Mehenderkar, Ranjith & Aja, Ranjitsingh & Sabesan, Gokulshankar & Vijayalaksmi, G & Deepa, K & Babu, K. & Sidhu, Harcharan. (2010). Solanum trilobatum in the management of atopy: Through inhibition of mast cell degranulation and moderation of release of interleukins. Pharmacognosy research. 2. 10-4. 10.4103/0974-8490.60581. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/51539720_Solanum_trilobatum_in_the_management_of_atopy_Through_inhibition_of_mast_cell_degranulation_and_moderation_of_release_of_interleukins)
Ganesan, Kumar & Sukalingam, Kumeshini & Xu, Baojun. (2017). Solanum trilobatum L. Ameliorate Thioacetamide-Induced Oxidative Stress and Hepatic Damage in Albino Rats. Antioxidants. 6. 68. 10.3390/antiox6030068. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/319239442_Solanum_trilobatum_L_Ameliorate_Thioacetamide-Induced_Oxidative_Stress_and_Hepatic_Damage_in_Albino_Rats)
Ganesan, Kumar & Ramasamy, Maheswaran & Banu, Gani. (2013). Antihyperlipideamic effect of Solanum trilobatum L. leaves extract on streptozotocin induced diabetic rats. 3. 51-57. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/332316169_Antihyperlipideamic_effect_of_Solanum_trilobatum_L_leaves_extract_on_streptozotocin_induced_diabetic_rats)
Balakrishnan, Purushothaman & Ansari, Thameem & Musafar Gani, Thameem & Subrahmanyam, Sreenath & Shanmugam, Kumaran. (2015). A perspective on bioactive compounds from Solanum trilobatum. Journal of Chemical and Pharmaceutical Research. 2015. 507-512. ResearchGate. (Available via: https://www.researchgate.net/publication/281407363_A_perspective_on_bioactive_compounds_from_Solanum_trilobatum)
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7
ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน
ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)
ขอบคุณสำหรับการให้คะแนนค่ะ
- ถามหมอ
- แพ็กเกจสุขภาพ
- บทความน่าอ่าน
- ทำแบบทดสอบ
- รีวิวจากผู้ใช้จริง
- ดาวน์โหลดแอป
- กลับขึ้น ด้านบน