มันคือแมงมุมกัด หรือเป็นการติดเชื้อ MRSA ?

เผยแพร่ครั้งแรก 21 ก.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
มันคือแมงมุมกัด หรือเป็นการติดเชื้อ MRSA ?

คุณอาจจะเคยได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับเชื้อ MRSA (ออกเสียงว่า MER-sah) มันเป็นเชื้อดื้อยารูปแบบหนึ่งที่ย่อมาจาก methicillin-resistant staphylococcus aureus 

เชื้อ MRSA พบได้จากที่ไหน?

เชื้อนี้มักพบในผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาล ผู้สูงอายุ หรือการมีแผลเปิด ผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องมีแนวโน้มที่จะติดเชื้อนี้มากขึ้น นี่เป็นเชื้อดื้อยาเนื่องจากแบคทีเรียเรียนรู้ที่จะทนทานต่อยาปฏิชีวนะ น่าเศร้าที่มันถูกกำจัดได้ยากเพราะผู้ที่ติดเชื้อนั้นเดิมทีมักเป็นผู้ป่วย และมีหลายคนที่เสียชีวิตจากการติดเชื้อนี้ 

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

เราอาจได้รับเชื้อ MRSA มาจากช่องทางอื่นก็ได้ ในช่วงหลายปีหลังมีรายงานเกี่ยวกับการได้รับเชื้อ MRSA จากนอกโรงพยาบาลมากขึ้นเรื่อย ๆ เด็กหลายคนที่เสียชีวิตมักเป็นนักเรียนที่ใช้ฝักบัวในโรงยิมของโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายหรือบางคนที่สัมผัสกับอุปกรณ์ที่มีการติดเชื้อในสถานที่ออกกำลังกายต่าง ๆ 

เชื้อ MRSA นั้นสามารถพบได้ทุกที่ แม้กระทั่งบนผิวหนังของคนเราส่วนใหญ่ มันไม่ได้ทำให้เกิดการเจ็บป่วยในทุกคน หากคุณแข็งแรงและมีสุขภาพดี เชื้อก็อาจจะอาศัยอยู่บนผิวหนังโดยที่คุณไม่รู้ตัวว่ามีเชื้ออยู่และสามารถติดต่อไปยังผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอและไม่สามารถต้านทานเชื้อนี้ได้ 

ทุกคนสามารถติดเชื้อนี้ได้ และหากเราป่วยมากพอ เชื้อนี้ก็สามารถติดมายังเราได้เช่นกัน นี่ทำให้เข้าใจว่าทำไมจุดสีแดงที่อาจเกิดจากการติดเชื้อ MRSA นั้นอาจถูกเข้าใจผิดว่าเกิดจากแมงมุมกัดได้ แม้ว่าจะเป็นผู้เชี่ยวชาญก็ตาม 

ดังนั้นเราจึงรวบรวมแหล่งข้อมูลมาให้คุณ หากคุณเกิดจุดสีแดงผิดปกติขึ้นบนผิวหนัง อาจมีอาการคัน เจ็บหรือรู้สึกแสบ 

มันคือแมงมุมกัดหรือไม่?  

การที่คุณสามารถแยกความแตกต่างระหว่าง 2 อย่างนี้ได้จะช่วยเวลาคุณปรึกษาแพทย์ และยังช่วยเพิ่มโอกาสในการได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องอีกด้วย


5 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)