บัวบก

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
บัวบก

ชื่อท้องถิ่น : ผักหนอก (ภาคเหนือ) , ประหนะเอขาเต๊าะ (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน)

ลักษณะของพืช
บัวบกเป็นพืชเลื้อย สูงขนาด 1 ฝ่ามือ มีรากงอกออกมาตามข้อของ ลำต้น ก้านใบงอกตรงจากดิน ใบสีเขียว รูปกลมรีเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่น ดอกสีม่วงแดงเข้ม ใช้ข้อที่มีรากงอกมาปลูก

ส่วนที่ใช้เป็นยา : ต้นสดและใบสด

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา : เก็บใบที่สมบูรณ์เต็มที่

รสและสรรพคุณยาไทย : กลิ่นหอม รสขมเล็กน้อย แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า

วิธีใช้
บัวบกใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก โดยเอาบักบกทั้งต้นสด 1 กำมือ ล้างให้สะอาดและตำให้ละเอียดคั้นน้ำและเอาน้ำทาบริเวณที่เป็นแผลบ่อยๆ ใช้กากพอกด้วยก็ได้


3 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
WHO Monographs on Selected Medicinal Plants - Volume 1: Herba Centellae. World Health Organization (WHO). (https://apps.who.int/medicinedocs/es/d/Js2200e/10.html)
Gotu Kola (Centella asiatica): Nutritional Properties and Plausible Health Benefits. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/26602573)
Gotu Kola: Benefits, Side Effects, and Preparations. Verywell Health. (https://www.verywellhealth.com/the-benefits-of-gotu-kola-89566)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป