ตารางการตรวจสุขภาพของลูก

เผยแพร่ครั้งแรก 5 ก.พ. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 8 มี.ค. 2019 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ตารางการตรวจสุขภาพของลูก

หลังจากที่ลูกได้ลืมตาดูโลกแล้ว การเจริญเติบโตทางร่างกายและพัฒนาการต่างๆ ของลูกจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเราควรพาลูกไปให้คุณหมอตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ ตามที่หมอนัดหรือตามอายุของลูกเพื่อจะได้แน่ใจว่าลูกของเราไม่ผิดปกติ หรือหากตรวจพบแต่แรกก็อาจจะรักษาได้

  • เมื่อลูกอายุ 6 สัปดาห์
    จะตรวจต้อกระจก เพดานปาก หัวใจ ลูกอัณฑะ (สำหรับเพศชาย) กระดูกเชิงกราน
  • เมื่อลูกอายุ 8-9 สัปดาห์
    ทดสอบการได้ยิน ทดสอบการนั่งนาน 1 นาที ตรวจเรื่องตาเข
  • เมื่อลูกอายุ 18 เดือน
    ลองให้ลูกเดิน 10 ก้าว พูด 2 คำที่มีความหมาย ตรวจเรื่องตาเข สอนเรื่องการใช้ห้องน้ำ
  • เมื่อลูกอายุ 2 ขวบครึ่งถึง 3 ขวบ
    ควรที่จะพูดประโยคที่มีคำ 2 คำได้แล้วเมื่ออายุ 2 ขวบครึ่ง
  • เมื่อลูกอายุ 4 ขวบถึง 4 ขวบครึ่ง
    ควรจะวัดส่วนสูง ตรวจหัวใจ ตรวจการเจริญเติบโต การได้ยิน และการมองเห็นก่อนเข้าโรงเรียน

ถึงแม้ว่าลูกจะไม่ได้เจ็บป่วยก็ควรพาไปให้หมอตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ เพราะความผิดปรกติบางอย่างอาจจะยังไม่แสดงอาการออกมาให้เห็น อย่าปล่อยให้ลูกป่วยก่อนถึงจะพาไปหาหมอ

บทความที่เกี่ยวข้อง
การตรวจสุขภาพเด็กอายุ 1-10 ปี


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Health Checks in Childhood (https://www.myvmc.com/investig...)
Health checks - babies and young children (http://www.cyh.com/HealthTopic...)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)