ทำไมบางคนถึงมีตาสีฟ้า

เผยแพร่ครั้งแรก 15 ก.ค. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
ทำไมบางคนถึงมีตาสีฟ้า

แม้ว่าตาสีฟ้าจะเป็นที่ชื่นชอบของใครหลายๆ คน จนถึงขนาดหาวิธีทำตาสีฟ้าในภายหลัง บทความนี้จะมาตอบคำถามนี้ให้เพื่อความเข้าใจเรื่องสีของดวงตา

ทำไมคนไทยมีตาสีดำหรือน้ำตาล?

ในดวงตาของทุกคนจะมีสีสันแตกต่างกันออกไปอยู่แล้วตามธรรมชาติ แต่ที่คนไทยส่วนใหญ่มีตาสีน้ำตาลนั้นเนื่องจากสารมีที่ชื่อว่าเมลานิน ซึ่งเป็นสารสีที่ทำให้ม่านตาสีต่างๆ กลายเป็นสีน้ำตาล เพราะฉะนั้นไม่ว่าคุณจะมีตาสีอะไรก็ตาม หากมีเมลานินจำนวนมาก ตาก็จะกลายเป็นสีน้ำตาลเช่นกัน โดยยิ่งคุณมีปริมาณเมลานินมากเท่าไหร่ ดวงตาของคุณก็จะสามารถรับแสงได้มากขึ้นเท่านั้น

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจตา รักษาโรคตาวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 437 บาท ลดสูงสุด 61%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

ตาสีฟ้าเกิดจากอะไร?

ตาสีฟ้านั้นเป็นสีตาที่มีเมลานินในปริมาณน้อยที่สุด และทำให้สามารถรับแสดงได้น้อยที่สุดเช่นกัน ทำให้แสงส่วนใหญ่นั้นเกิดการสะท้อนออกเป็นคลื่นสีฟ้า (การสะท้อนแสงนี้ยังสามารถอธิบายได้ถึงการที่บางคนมีสีตาที่เปลี่ยนไปได้อีกด้วย – เพราะขึ้นกับชนิดของแสงที่เข้าสู่ม่านตานั่นเอง) 

ระดับเมลานินในผู้ที่มีตาสีเขียวและสีเฮเซลนั้นจะอยู่ระหว่างผู้ที่มีตาสีฟ้าและสีน้ำตาล

อย่างไรก็ตาม คุณไม่จำเป็นต้องวิตกว่าตาของคุณนั้นไม่ใช่ตาสีฟ้าที่แท้จริงแต่อย่างใด แค่เพียงมีความสุขและภูมิใจกับสีตาของคุณไม่ว่าคุณจะมีตาสีอะไรเท่านั้นก็พอ


14 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
How Genetics Determine Eye Color. Verywell Health. (https://www.verywellhealth.com/genetics-of-eye-color-3421603)
Central heterochromia (two different eye colors): Causes and types. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/319389)
Is eye color determined by genetics? - Genetics Home Reference. Genetics Home Reference - NIH. (https://ghr.nlm.nih.gov/primer/traits/eyecolor)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)