กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

คุณแม่ตั้งครรภ์ไม่ควรนอนหงายจริงหรือ

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
คุณแม่ตั้งครรภ์ไม่ควรนอนหงายจริงหรือ
a15.gif

 คุณแม่ที่ท้องแก่ใกล้จะคลอดใน 2-3 เดือนข้างหน้านั้นไม่ควรนอนหงาย เป็นความจริง เพราะในยามที่ครรภ์แก่ ทารกในครรภ์มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เวลาที่คุณแม่นอนไม่ว่าท่าไหนจะรู้สึกอึดอัดไม่สบาย พลิกซ้ายพลิกขวา คุณแม่จะนอนตะแคงซ้ายหรือขวาก็ได้ แต่ไม่ควรนอนหงายบนที่นอนพื้นราบ ควรจะเป็นลักษณะเอนหลังจะดีกว่า

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

a15.gif

 เพราะการนอนหงายจะทำให้น้ำหนักของมดลูกที่ขยายเพิ่มขึ้น กดลงบนเส้นเลือดใหญ่ในช่องท้อง ทำให้รู้สึกอึดอัด ไม่สบาย ความดันโลหิตจะต่ำลง อาจทำให้หน้ามืดเป็นลมได้ แต่ถ้ารู้สึกเมื่อย อยากเปลี่ยนท่าทาง แนะนำให้ใช้วิธีนอนหงาย หนุนศีรษะให้สูงขึ้น ใช้หมอนรองเท้าให้สูง เพื่อให้หน้าท้องหย่อนตัว หลังแนบพื้น ช่วยลดอาการปวดหลังได้ เป็นการลดการบวมปลายเท้า ช่วยให้เลือดลมที่คั่งตามปลายเท่าไหลเวียนสู่หัวใจได้สะดวก และยังบรรเทาอาการโรคริดสีดวงทวารด้วย


9 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Advice to pregnant women - 'avoid sleeping on your back during last trimester'. NHS (National Health Service). (https://www.nhs.uk/news/pregnancy-and-child/pregnant-women-should-avoid-sleeping-back-last-trimester/)
How to sleep when pregnant: Best positions and sleep aids. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/326534)
Back to basics: avoiding the supine position in pregnancy. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5309362/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?

เรียนรู้สัญญาณการตั้งครรภ์นอกมดลูกก่อนที่มันจะฉีกขาด

อ่านเพิ่ม
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?

การตั้งครรภ์ที่เร็วเกินไปที่จะยืนยันด้วยวิธีการทางชีวเคมี

อ่านเพิ่ม