กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

โรคที่เกิดจาก การประกอบอาชีพ ทางเกษตรกรรมในประเทศไทย

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
โรคที่เกิดจาก การประกอบอาชีพ ทางเกษตรกรรมในประเทศไทย

ประเทศไทยเราอาชีพส่วนใหญ่ของประชากร คือ งานเกษตรกรรม

โรคที่เกิดจาก การประกอบอาชีพ ทางเกษตรกรรมในประเทศไทย มีอะไรบ้าง?

  1. การใช้สารเคมีที่มีพิษในการกำจัดสัตว์ แมลง ที่เป็นศัตรูพืช สารที่ใช้ในการกำจัดเชื้อรา  สารใช้กำจัดสัตว์แทะ และสารใช้ในการปราบวัชพืชเกษตรกรส่วนใหญ่ได้ทราบถึงอันตราย ที่จะเกิดจากการใช้สารเคมีเหล่านี้ บางคนอาจจะใช้อย่างประมาทขาดความรู้ ทำให้ผู้ใช้ได้รับอันตรายถึงตายได้ หรือผู้บริโภคที่กินพืช ผัก ผลไม้ที่พ่นยาฆ่าแมลงไว้ยังไม่หมดฤทธิ์ของยาที่ตกค้างก็ถึงตายได้เช่นกัน
  2. ฝุ่นจากการทำงานทางเกษตรกรรม เช่น กลุ่มชาวนาจะได้รับฝุ่นจากการนวดข้า หรือฝิ่นจากไถนา ทำให้เกิดปอดอักเสบหายใจไม่สะดวก
  3. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ มักจะพบอันตรายได้หลายอย่าง เช่น ฝน พายุ น้ำท่วม ทำให้เกิดไขหวัด โรคมาเลเรีย โรคผิวหน้าอักเสบ และพยาธิปากขอ นอกจากนี้จะมีอันตรายเกิดจากงูพิษกัดแมลงมีพิษกัดต่อยอีก เป็นต้น
  4. สัตว์เลี้ยงมีโรค ซึ่งมีโรคหลายชนิดที่สามารถติดต่อไปยังคนได้ สัตว์เป็นแหล่งเชื้อโรค ได้แก่ วัว ควาย ม้า แกะ แพะ สุกร และเป็ด ไก่ เป็นต้น สัตว์ที่เป็นโรคที่มีแผลแอนแธร๊กคนเลี้ยงสัมผัสก็เกิดแผนแอนแธร๊กได้

การเกิดโรคกลัวน้ำจากสัตว์ส่วนมากสุนัขและสัตว์แทะที่เป็นโรคกลัวน้ำ โรคบาดทะยัก โดยปนอยู่ในมูลสัตว์ในดินเข้าสู่คนโดยทางบาดแผล โคทริคิโนซิส เกิดจากกินเนื้อสัตว์ที่เป็นโรคทริคิโนซิส เป็นต้น

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Agricultural Safety - NIOSH Workplace Safety and Health Topic. Centers for Disease Control and Prevention (CDC). (https://www.cdc.gov/niosh/topics/aginjury/default.html)
Farmers’ occupational diseases of allergenic and zoonotic origin. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3858660/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)