แบบประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน โดยสมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกา

เผยแพร่ครั้งแรก 3 ธ.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 2 นาที
แบบประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน โดยสมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกา

หนึ่งในสี่คนของชาวอเมริกาเป็นโรคเบาหวานโดยที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย คุณอาจเป็นหนึ่งในกลุ่มคนเหล่านั้นที่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรค ทำแบบประเมินนี้และทราบโอกาสเสี่ยงของคุณเองในการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2

แบบประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน

1. คุณอายุเท่าไหร่

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

  ก. น้อยกว่า 40 ปี    ​(0 คะแนน)                  ข. 40 - 49 ปี             ​(1 คะแนน)

          ค. 50 - 59                (2 คะแนน)                         ง. มากกว่า 60 ปี         (3 คะแนน)

2. เพศของคุณ

          ก. เพศชาย               (1 คะแนน)                         ข. เพศหญิง               (0 คะแนน)

3. คุณเป็นผู้หญิงที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือให้กำเนิดทารกที่มีน้ำหนัก 9 ปอนด์ ขึ้นไปหรือไม่

          ก. ใช่                      (1 คะแนน)                         ข. ไม่ใช่                   (0 คะแนน)

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

4. แม่ หรือพ่อ หรือพี่น้องสายตรงของคุณเป็นเบาหวานหรือไม่

          ก. ใช่                      (1 คะแนน)                         ข. ไม่ใช่                   (0 คะแนน)

5. คุณเคยได้รับวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงหรือไม่

          ก. ใช่                      (1 คะแนน)                         ข. ไม่ใช่                   (0 คะแนน)

6. คุณออกกำลังกายเป็นประจำหรือไม่

          ก. ใช่                      (0 คะแนน)                         ข. ไม่ใช่                   (1 คะแนน)

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ตรวจเบาหวานวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 78 บาท ลดสูงสุด 83%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

7. น้ำหนักของคุณเมื่อเทียบกับความสูงเป็นอย่างไร

 ส่วนสูง (ซม.)

น้ำหนัก (กก.)

น้ำหนัก (กก.)

น้ำหนัก (กก.)

147

54.0 - 64.4

64.9 - 89.2

86.6+

150

56.2 - 66.7

67.1 - 89.3

89.9+

152

58.1 - 68.9

69.5 - 92.1

92.5+

155

59.9 - 71.2

71.7 - 95.3

95.7+

157

61.7 - 73.9

74.4 - 98.4

98.9+

160

64.0 - 76.2

76.7 - 101.6

102.1+

163

65.8 - 78.5

78.9 - 104.8

105.2+

165

68.0 - 81.2

81.6 - 108.2

108.9+

168

70.3 - 83.9

84.4 - 111.6

112.0+

170

76.7 - 91.6

89.4 - 118.4

115.7+

173

78.9 - 94.3

92.1 - 122.0

118.8+

175

81.2 - 97.1

94.8 - 125.6

122.5+

178

83.5 - 99.8

97.5 - 129.3

126.1+

181

85.7 - 102.5

100.2 - 132.9

129.7+

183

90.7 - 108.4

103.0 - 136.5

133.4+

 

(แถวนี้ได้ 1 คะแนน)

(แถวนี้ได้ 2 คะแนน)

(แถวนี้ได้ 3 คะแนน)

 

หากมีน้ำหนักต่ำกว่าที่มีในตาราง  (0 คะแนน)

 

รวมคะแนนที่คุณได้ทั้งหมดแล้วแปลผล - ยิ่งคะแนนมากยิ่งเสี่ยง

หากคุณได้คะแนนตั้งแต่ 5 ขึ้นไป 

  • คุณมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ค่อนข้างมาก เข้าตรวจและปรึกษาแพทย์ประจำตัวของคุณ เช่น การเจาะตรวจเลือดอย่างง่ายเพื่อตรวจหาโรคเบาหวานหรือ ภาวะก่อนเป็นเบาหวาน การวินิจฉัยและการรักษาแต่เนิ่นๆนั้น สามารถป้องกันหรือระงับอาการหัวใจวายโรคหลอดเลือด สมอง โรคตาบอด โรคไต และปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่จะตามมากับโรคเบาหวานได้

หากคุณได้คะแนนต่ำกว่า 5

  • แม้ว่าคะแนนของคุณจะต่ำกว่า 5 แต่จริงๆแล้วคุณอาจมีความเสี่ยงที่จะมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงกว่าระดับปกติ แต่ไม่สูงพอที่จะเรียกได้ว่าเป็นโรคเบาหวาน ข่าวดีสำหรับผู้ที่เป็นภาวะก่อนเป็นเบาหวานนี้ คือ คุณสามารถลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ด้วยตนเอง โดยการเข้าปรึกษาแพทย์ประจำตัว โรงพยาบาล หรือคลินิกเพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าคุณอายุเกิน 45 ปี มีน้ำหนักเกิน หรือมีสมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคเบาหวาน ปฏิบัติตามวิธีดูแลสุขภาพต่างๆที่คุณสามารถทำได้เพื่อป้องกัน หรือชะลอการโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีชีวิตที่สุขภาพดียืนยาว

 

ที่มา https://www.niddk.nih.gov/-/media/Files/Health-Information/Communication-Programs/NDEP/am-i-at-risk/2017_NDEP_Risk_for_Type_2_Diabetes_508.pdf?la=en

 


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Risk-Assessment Tools for Detecting Undiagnosed Diabetes. American Academy of Family Physicians (AAFP). (https://www.aafp.org/afp/2009/0715/p175.html)
Risk-assessment score for screening diabetes mellitus among Omani adults. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4687781/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)