November 22, 2019 19:41
ตอบโดย
กอบศักดิ์ ชัยชะแตง (นพ.)
โดยปกติกระดูกในผู้ใหญ่เมิ่อหักแล้วจะเขื่อมต่อติดกันได้ภายใน2-3เดือนครับ หรือใช้ระยะเวลาประมาณ8-12สัปดาห์ครับ ที่จำเป็นต้องใส่เฝือกไว้
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ผมอายุ14ครับหมอ
ตอบโดย
กันตณัฏฐ์
อยู่ตรีรักษ์ (แพทย์ทั่วไป)
(นพ.)
General physician
สวัสดีครับ
การใส่เฝือกที่ขานั้นจะต้องมีการประเมินอาการเป็นระยะก่อนที่จะถอดเฝือกเพื่อให้มั่นใจว่ากระดูกมีการติดดีแล้วครับ และโดยส่วนใหญ่ก็จะใช้เวลาใส่เฝือกอยู่ที่ประมาณ 6-8 สัปดาห์ครับ
ในกรณีนี้หมอแนะนำว่าควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจติดตามอาการตามนัดเพื่อที่จะได้ถอดทอกในช่วงเวลาที่เหมาะสมครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
ตอบโดย
ชัยวัฒน์ จิรานันท์สกุล (หมอเปี๊ยก) (นพ.)
แล้วแพทย์ ที่ใส่เฝือกให้ แนะนำว่าเช่นไรครับ
นัดไปพบอีกครั้ง เมื่อใด
โดยทั่วไป. สัก 6 สัปดาห์. กระดูกก็เริ่มสมานกันแล้ว แต่แพทย์ผู้รักษา. ก็จะประเมินดู เป็นรายบุคคลไปครับ
รายละเอียดการรักษาของคนไข้แต่ะคน แพทย์เจ้าของไข้ จะรู้ดีที่สุด มากกว่าแพทย์ที่ไม่มีข้อมูลรายละเอียดของคนไข้เลย
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
หมอครับคือผมเล่นฟุตบอลแล้วเกิดข้อเท้าพลิกแล้วหมอที่รพบอกว่ากระดูกเล็กหักเลยให้ผมใส่เฝือกเเข็งมาได้5อาทิตย์แล้วครับผมอยากรู้ว่าจะได้ใส่อีกกี่อาทิตย์มันจะหายเร็วมั้ย
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)