July 08, 2017 07:42
ตอบโดย
ศิรินทิพย์ ผอมน้อย (นักจิตวิทยาคลินิก)
การรักษาริดสีดวงทวารด้วยวิธีการฉีดยาโดยมากจะฉีดเข้าไปที่หัวริดสีดวงเพื่อทำให้เกิดการอักเสบและเลือดจะจับเป็นลิ่มในหัวริดสีดวง ต่อมาจะเกิดเนื้อพังผืดมาแทนที่หัวริดสีดวง เนื้อพังผืดนี้จะค่อยๆหดตัวตามธรรมชาติของมันแล้วหัวริดสีดวงก็ฝ่อไปค่ะการฉีดยาก่อนฉีดคุณหมอต้องตรวจว่ามีการอักเสบรุนแรงไหม ถ้าไม่มีการอักเสบที่รุนแรงก็สามารถฉีดได้เลยและจะนัดฉีดทุกสัปดาห์ประมาณ3-5ครั้งจนครบ จากนั้นก็นัดติดตามผลค่ะ อาการข้างเคียงมักไม่มีอาการอะไรนะคะนอกจากตอนฉีดอาจรู้สึกปวดถ่วงคล้ายปวดอุจจาระประมาณ10-15 นาทีก็หายไปเองค่ะ สรุปคือ การฉีดยาไม่ทำให้ริดสีดวงยุบทันทีค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
แฟนไปฉีดยามาสามเดือนแล้วตอนนี้ก้อยังเปนแผลตรงปากทางทวารยุ่เลยค่ะ
แฟนไปฉีดยามาสามเดือนแล้วตอนนี้ก้อยังเปนแผลตรงปากทางทวารยุ่เลยค่ะ
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
แฟนไปรักษามาสามเดือนแล้วยังมีแผลที่ปากทางยุ่เลยอะค่ะ
รักษาริดสีดวงภายนอกเริ่มต้นแบบธรรมชาติก่อนไปพบแพทย์ต้องทำยังไงคะ
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
รักษาริดสีดวงภายนอกวิธีธรรมชาติก่อนไปพบแพทย์ด้วยวิธีการไหนได้บ้างคะ ขึ้นมา2ตุ่ม ตุ่มแรกไม่มีหัวนิ่มมาก อีกตุ่มมีหัวแข็งมาก หรือควรไปพบแพทย์เพื่อผ่าตัดหรือฉีดยาให้เลยดีคะ
มวลท้องบริเวณปากรูทวารตลอดเวลา มีริดดวงแบบนิ่ม1 เม็ดเพราะผมทานยาบรรเทาริดสีดวงมาประมาณ 4-5 เดือนได้เเล้ว ... เคยซื้อยาแหนบมา ช่วยบรรเทาอาการได้เยอะมาก "แต่" ระยะหลังแหนบยาแล้วมีเลือดซึมออกมา แม้เเต่จะ ฉี่คับ
หากรักษาด้วยการฉีดยาริดสีดวงจะยุบทันทีไหม และมีอาการข้างเคียงอะไรบ้างคะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)