หลักเภสัชกร 4 ประการ หลักสำคัญของวิชาชีพ

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
หลักเภสัชกร 4 ประการ หลักสำคัญของวิชาชีพ

a5.gif การศึกษาวิชาเภสัชกรรมแผนโบราณ จำเป็นต้องรู้หลักสำคัญของการศึกษาวิชานี้ เพื่อได้จดจำง่ายได้จัดไว้เป็นหลักฐานใหญ่ๆ ที่เรียกว่า “หลักเภสัช” โดยจำแนกออกเป็น 4 บท เพราะผู้ที่จะเป็นเภสัชกรแผนโบราณจำเป็นต้องรู้หลักใหญ่ 4 ประการนี้ก่อน คือ 

  1. เภสัชวัตถุ คือ รู้จักวัตถุธาตุนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยารักษาโรคและรักษาไข้ จะต้องรู้ลักษณะพื้นฐานของตัวยาหรือสมุนไพรแต่ละชนิด คือ ต้องรู้จักชื่อ ลักษณะ สี กลิ่น และรส 
  2. สรรพคุณเภสัช คือ รู้จักสรรพคุณของวัตถุนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยา จะต้องรู้รสของตัวยานั้นๆก่อนจึงสามารถทราบสรรพคุณได้ภายหลัง
  3. คณาเภสัช คือ รู้จักการจัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่งหลายอย่าง รวมเรียกเป็นชื่อเดียว
  4. เภสัชกรรม คือ รู้จักการปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยา ตามที่กำหนดในตำรับยา หรือตามใบสั่ง

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Defining pharmacy and its practice: a conceptual model for an international audience. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5774311/)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป