January 23, 2017 21:35
ตอบโดย
วิภา สุวรรณชีวะศิริ (พญ.)
ในปัจจุบัน มียาสมุนไพรหลากหลายชนิด หลายยี่ห้อ ซึ่งส่วนประกอบบางส่วนก็ไม่ได้ระบุในฉลาก หนึ่งในนั้นที่อันตรายที่มักถูกผสมมาในยาสมุนไพร หรือยาลูกกลอน คือ สเตียรอยด์ หากรบประทานไปนานๆ ย่อมส่งผลเสียต่อร่างกาย และยิ่งหากผู้ป่วยมีโรคประจำตัวและต้องรับประทานยาเป็นประจำ การรับประทานยาสมุนไพรโดยไม่ได้อยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ การรับประทานยาสมุนไพรก็อาจส่งผลต่อยาที่รับประทานอยู่เดิม
ถ้าหากผู้ป่วยต้องการจะใช้ยาสมุนไพร สามารถปรึกษาแพทย์ได้ค่ะ เนื่องจากปัจจุบันมียาสมุนไพรหลายชนิดที่นำมาทำเป็นชนิดเม็ดและแคปซูลเพื่อให้ง่ายต่อการรับประทาน และปลอดภัยจากสเตีนรอยด์ค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*
แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท
ตอบโดย
วลีรักษ์ จันทร (พว.)
สมุนไพร ที่นำมาใช้ ต้มกินกันโดยทั่วไป มีผลเสียต่อร่างกาย ค่ะ จะทำลายภูมิต้านทางโรค ทำให้ถูมิในร่างกายลดลง ค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ตอบโดย
ชัยวัฒน์ จิรานันท์สกุล (หมอเปี๊ยก) (นพ.)
สมุนไพรมีหลายอย่าง หลายชนิด
เหมือนกันกับยา ก็มีหลายอย่าง
สมุนไพรบางตัวก็ไม่มีผลต่อฮอร์โมน
บางตัวก็มี เช่นกวาวเครือขาว มีงานวิจัยออกมาว่า มีผลออกฤทธิ์เหมือนฮอร์โมนเพศหญิงครับ
ต้องถามมาให้เจาะจงว่า สมุนไพรตัวไหนครับ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต คำตอบของแพทย์เป็นการให้ความรู้และคำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา คุณควรพบแพทย์ที่สถานพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจทุกครั้ง หากคุณมีเหตุฉุกเฉินกรุณาโทรแจ้ง 1669
ทำเลสิกวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 25,500 บาท ลดสูงสุด 35%!!
จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!
อยากทราบว่าการทานยาสมุนไพรมีผลกับฮอร์โมนในเลือดเรามั้ยค่ะ
ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)